1 Functions กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

Introduction to C Introduction to C.
Ajax อ.วชิระ หล่อประดิษฐ์ ระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
BC322 ครั้งที่ 6 Text file BC322 : computer Programming (Week6)
คำสั่ง while และ คำสั่ง do..while
ครั้งที่ 8 Function.
Chapter 7 ขอบเขตของตัวแปร Variable Scope.
สภาวะแวดล้อมในขณะโปรแกรมทำงาน
6. โครงสร้างข้อมูลแบบแฟ้ม
ฟังก์ชัน (Function).
Structure Programming
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
Function.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
บทที่ 5 การทำงานแบบวนซ้ำ
CE 112 บทที่ 5 การทำซ้ำในภาษา C
PHP LANGUAGE.
โครงสร้างภาษาซี.
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
ฟังก์ชั่น function.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
Seree Chinodom Recordset Object Seree Chinodom Computer Science, BUU.
C Programming Lecture no. 6: Function.
Functions & Sub Program ฟังก์ชันและโปรแกรมย่อย
การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ บทที่ 5 การพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วย MS Visual Basic 2010 ปริญญา น้อยดอนไพร สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
บทที่ 5 ฟังก์ชันของ PHP การประกาศฟังก์ชัน { Statement; }
Chapter 7 Iteration Statement
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
คำสั่ง for ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
1. 2  ในการใช้งานเว็บไซต์ โดยปกติเราจะไม่สามารถ ใช้งานตัวแปรที่มีลักษณะ Global ที่สามารถ นำไปใช้ได้กับเว็บเพจหน้าอื่นๆ ปกติในการใช้ งานค่าต่างๆ ของเว็บเพจ.
การสร้างและใช้งานฟังก์ชั่น
Chapter 16 / Unit 77 : VB : Subprogram & Function Senior Cybernaut ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องแห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย SL102017/04C /ISSUE2.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
Week 2 Variables.
เสรี ชิโนดม ฟังก์ชัน เสรี ชิโนดม
Computer Programming for Engineers
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
ฟังก์ชัน.
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
CHAPTER 4 Control Statements
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
PHP: [8] การสร้างฟังก์ชั่นขึ้นใช้เอง (User-defined functions)
คำสั่งทำซ้ำ for คำสั่ง for เป็นคำสั่งทำซ้ำในลักษณะ Definite loop คือทราบจำนวนรอบที่แน่นอนในการทำงาน ซึ่งจะใช้ตัวแปร 1 ตัวในการนับจำนวนรอบว่าครบตามกำหนดหรือไม่
ADO.NET (การบริหารและจัดการข้อมูล)
บทที่ 9 พอยเตอร์. สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น พอยเตอร์ (Pointer) พอยเตอร์คือต้นฉบับของชนิดข้อมูล เป็นชนิด ข้อมูลที่สร้างจากข้อมูลมาตรฐานชนิดหนึ่ง.
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Recursive Method.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
Function ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. What is a function ฟังก์ชันในภาษา C เป็นโปรแกรมที่ถูกออกแบบมาเพื่อ ใช้แก้ปัญหางานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะ ฟังก์ชันจะเปลี่ยน input.
Debugging กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
บทที่ 5 Function. Function Function เป็นการแบ่งโค้ดโปรแกรมออกเป็นส่วนย่อยๆ เพื่อทำงานบางอย่าง - โค้ดโปรแกรมเรียงต่อกันยาว - สามารถเรียกใช้ Function ซ้ำได้
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
ระบบคอมพิวเตอร์ และ การสื่อสาร กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
Week 5 While and Do-While loop (Control Structure 2)
1 Inheritance อุทัย เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
1 Introduction to SQL กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
รายการ (Lis t) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร Website : ict.up.ac.th/yeunyong.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Functions กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา

2 Content  การ Reuse Code  การใช้ฟังก์ชัน require() และ include()  ฟังก์ชัน (Function)  การคืนค่า (Return) จากฟังก์ชัน  ประเภทของการส่งผ่านค่า  ขอบเขต (Scope)  การเรียกใช้ตัวเอง (Recursion)

3 การ Reuse Code  คือการนำเอาโปรแกรม ที่เคยมี การสร้างขึ้นมาก่อน กลับเอามาใช้ ใหม่ เพื่อพัฒนาระบบ  เพิ่มความรวดเร็วในการเขียน โปรแกรม  ลดค่าใช้จ่ายในการพัฒนา โปรแกรม  ลดการสูญเสียพื้นสำหรับจองตัว แปรต่างๆ  ลดความผิดพลาดในการเขียน โปรแกรม  เพื่อความสะดวกในการปรับปรุง แก้ไขในภายหลัง

4 การใช้ฟังก์ชัน require() และ include()  ใช้สำหรับโหลดแฟ้มข้อมูลที่ จัดเก็บ สคริปต์ของ  PHP  HTML  ฟังก์ชัน หรือ Class ที่มีการทำงานเหมือนคำสั่ง #include ของภาษา C ที่มีการทำงานเหมือนคำสั่ง #include ของภาษา C

5 require()  เป็นฟังก์ชัน สำหรับโหลด แฟ้มที่นำมาใช้ งาน ในลักษณะ ของ Reuse Code require( "filename" ); รูปแบบfilename ชื่อของ แฟ้มข้อมูล ที่นิสิต ต้องการ เรียกใช้

6 require_once()  เป็นฟังก์ชัน สำหรับโหลด แฟ้มที่นำมาใช้ งาน ในลักษณะ ของ Reuse Code require_once( "filename" ); รูปแบบfilename ชื่อของ แฟ้มข้อมูล ที่นิสิต ต้องการ เรียกใช้

7 require() และ require_once() use function from f1.php and f2.php require("f1.php") require("f2.php") use function from f1.php and f2.php require_once("f1.php") require_once("f2.php")

8 f1.php and f2.php <?php // f1.php function factorial1($count){ $result = "1"; $result = "1"; for($i=2; $i<=$count; $i++) for($i=2; $i<=$count; $i++) $result = $result. " * ". $i; return $result; } // end function ?> <?php // f2.php function factorial2($count){ $result = 1; $result = 1; for($i=1; $i<=$count; $i++) for($i=1; $i<=$count; $i++) $result = $result * $i; $result = $result * $i; return $result; return $result; } // end function ?>

9 <?php require("f1.php"); require("f2.php"); echo "FACTORIAL OF 5"; echo "IS "; echo factorial1(5); echo " = "; echo factorial2(5); echo " "; ?><?php require_once("f1.php"); require_once("f2.php"); echo "FACTORIAL OF 5"; echo "IS "; echo factorial1(5); echo " = "; echo factorial2(5); echo " "; ?>

10 include()  เป็นฟังก์ชัน สำหรับโหลดแฟ้ม ที่นำมาใช้งาน ใน ลักษณะของ Reuse Code เหมือน require() และ require_once() include( "filename" ); รูปแบบfilename ชื่อของ แฟ้มข้อมูล ที่นิสิต ต้องการ เรียกใช้

11 ฟังก์ชัน (Function)  คือ ชุดคำสั่ง (Routine) ที่ใช้ในการ ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่ง โดย สามารถส่งค่าผลลัพธ์หลังจากการ ทำงานออกมาได้ โดยที่การทำงาน ของฟังก์ชันจะมีคำศัพท์ที่ เกี่ยวข้องคือ  Argument ตัวแปรที่เราใช้ส่งค่าไปให้ ฟังก์ชัน  Parameter ตัวแปรที่ฟังก์ชันใช้รับค่าที่ ส่งมา

12 ฟังก์ชัน (Function) // argument ( ส่งค่าไปประมวลผล : เรียกใช้ งานฟังก์ชัน ) func_name(argument1,…, argumentN); // parameter ( รับค่า ) function func_name(para1,…, paraN){ ชุดคำสั่งต่างๆ ที่ฟังก์ชัน ต้องประมวลผล ชุดคำสั่งต่างๆ ที่ฟังก์ชัน ต้องประมวลผล return value // ถ้าต้องการส่งค่ากลับ return value // ถ้าต้องการส่งค่ากลับ}

13 User-Defined Function  ในการใช้งาน ฟังก์ชัน ผู้ใช้ สามารถสร้าง ฟังก์ชันขึ้นมา ใช้งานได้เอง function func_name( para1,…, paraN ); รูปแบบfunc_name ชื่อของ ฟังก์ชัน para1,…,paraN ค่าตัว แปรที่เรา ส่งมาให้ ฟังก์ชัน ประมวล ผล

14 User-Defined Function  การตั้งชื่อฟังก์ชัน ควรตั้งชื่อให้สื่อ ความหมาย และมีความสัมพันธ์กับ งานที่ฟังก์ชันนั้นทำ โดยมีกฎการ ตั้งชื่อดังนี้  ชื่อของฟังก์ชันต้องไม่ซ้ำกัน  ชื่อของฟังก์ชันสามารถเป็น ตัวอักษร ตัวเลข หรือ underscore ( _ )  ชื่อของฟังก์ชันต้องไม่ขึ้นต้นด้วย ตัวเลข

15 การคืนค่า (Return) จาก ฟังก์ชัน  เมื่อสิ้นสุดการทำงานของฟังก์ชัน เราสามารถเลือกที่จะส่งค่าผลลัพธ์ ของการประมวลผลกลับออกมา จากฟังก์ชันได้ หรืออาจจะไม่ส่งค่า กลับเลยก็ได้ สามารถใช้คำสั่ง return ในการส่งค่ากลับ ดังแสดงใน ตัวอย่างหน้าถัดไป

16 Example: Function <?php function multiple($x, $y){ function multiple($x, $y){ $result = $x * $y; $result = $x * $y; return $result; return $result; } echo "TESTING FUNCTION = ". multiple(10, 5); echo "TESTING FUNCTION = ". multiple(10, 5); echo phpinfo(); // SYSTEM FUNCTION echo phpinfo(); // SYSTEM FUNCTION?>

17 ประเภทของการส่งผ่านค่า  การส่งผ่านค่าตัวแปรให้กับฟังก์ชัน มี 2 แบบ คือ  การส่งผ่านค่า โดยใช้ค่าของข้อมูล (Pass by Value)  การส่งผ่านค่า โดยใช้การอ้างอิง (Pass by Reference)

18 Pass by Value <?php function increment( $x ){ function increment( $x ){ $x = $x +10; $x = $x +10; } $data = 10; $data = 10; echo "data before pass by value =". $data ; echo "data before pass by value =". $data ; echo " "; echo " "; increment($data); increment($data); echo "data after pass by value =". $data; echo "data after pass by value =". $data;?> data before pass by value =10 data after pass by value =10

19 Pass by Reference <?php function increment( &$x ){ function increment( &$x ){ $x = $x +10; $x = $x +10; } $data = 10; $data = 10; echo "data before pass by value =". $data ; echo "data before pass by value =". $data ; echo " "; echo " "; increment($data); increment($data); echo "data after pass by value =". $data; echo "data after pass by value =". $data;?> data before pass by value =10 data after pass by value =20

20 ขอบเขต (Scope)  ขอบเขตในการใช้งานตัวแปรของ ภาษา PHP มีหลักการกำหนด ขอบเขตดังนี้  local variable: ค่าตัวแปรมีผลเฉพาะใน ฟังก์ชันที่เรียกใช้งาน  global variable: ค่าตัวแปรมีผลเฉพาะ นอกฟังก์ชัน

21 Example: Scope <?php $x = 10;// global variable $x = 10;// global variable function increment($x){ function increment($x){ $x = $x +10;// local variable $x = $x +10;// local variable echo "local variable x = ". $x; echo "local variable x = ". $x; echo " "; echo " "; } // END FUNCTION } // END FUNCTION increment(5); increment(5); echo "global variable x =". $x; echo "global variable x =". $x;?> local variable x = 15 global variable x =10

22 การเรียกใช้ตัวเอง (Recursion)  ในการใช้งานฟังก์ชัน นิสิต สามารถเรียกใช้งานฟังก์ชันเดิม ซ้ำๆ โดยนิสิตต้องระมัดระวัง เงื่อนไข เนื่องจากอาจเกิดการวน ซ้ำไม่หยุด (Infinite Loop)

23 Example: Recursion <?php function factorial($x){ function factorial($x){ if($x>1) if($x>1) return $x * factorial($x-1); // RECURSION return $x * factorial($x-1); // RECURSION else else return 1; return 1; } // END FUNCTION } // END FUNCTION echo "5! = ". factorial(5) ; echo "5! = ". factorial(5) ;?> 5! = 120