ยูเนี่ยนและอินเตอร์เซคชันของเหตุการณ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลิมิตและความต่อเนื่อง
Advertisements

ความน่าจะเป็น Probability.
สับเซตและเพาเวอร์เซต
เรื่อง เซต ความหมายของเซต การเขียนเซต ชนิดของเซต สับเซตและเพาเวอร์เซต
Introduction to Probability เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ความน่าจะเป็นเบื้องต้น เรื่อง ความน่าจะเป็นเบื้องต้น อ.สุวัฒน์ ศรีโยธี สาขาวิชาคณิตศาสตร์
การจัดหมู่(Combination)
คอมพลีเมนต์ นิยาม คอมพลีเมนต์ของเซต A เขียนแทนด้วย หมายถึง เซตที่ประกอบด้วยสมาชิก ซึ่งเป็นสมาชิกของเซต แต่ไม่เป็นสมาชิกของเซต A.
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
Probability & Statistics
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
การเรียงสับเปลี่ยนและทฤษฎีการจัดหมู่
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ตัวอย่างที่ 2.16 วิธีทำ จากตาราง.
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
การดำเนินการของเซต 1. ยูเนียน
อินเตอร์เซกชั่น (Intersection) คอมพลีเมนต์ (Complement)
อินเตอร์เซกชั่น (Intersection) คอมพลีเมนต์ (Complement)
การนับเบื้องต้น Basic counting
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
โดย มิสกรรณกา หอมดวงศรี
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
การบ้าน แซมเปิลสเปซ.
Lab 7: เกมไพ่จับคู่ (อีกรอบ)
การดำเนินการเกี่ยวกับเซต
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
กฏเกณฑ์นับเบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
แฟกทอเรียลและการเรียงสับเปลี่ยน
ความสัมพันธ์และความสัมพันธ์ทวิภาค
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
การดำเนินการบนเมทริกซ์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
สมบัติของความสัมพันธ์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ความสัมพันธ์ดีกรี n และการประยุกต์ใช้งาน
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3 โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค คณิตศาสตร์ สำหรับคอมพิวเตอร์ 1 ผลคูณคาร์ทีเชียน.
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
การดำเนินการบนความสัมพันธ์
ชนิดของเซต เช่น A = เซตว่าง (Empty set or Null set)
วิธีทำ ตัวอย่างที่ 2.15 ก. สอบผ่านอย่างน้อยหนึ่งวิชา.
การให้เหตุผล การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญ มี 2 วิธี ได้แก่
การดำเนินการระหว่างเหตุการณ์
ทฤษฎีเบื้องต้นของความน่าจะเป็น
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
Set Operations การกระทำระหว่างเซต
การทดลองสุ่มและแซมเปิ้ลสเปซ
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
หน่วยที่ 6 ความน่าจะเป็น โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
โดเมนเละเรนจ์ของความสัมพันธ์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยูเนี่ยนและอินเตอร์เซคชันของเหตุการณ์ ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4

ยูเนี่ยนของเหตุการณ์ ถ้า E1 และ E2 เป็นเหตุการณ์สองเหตุการณ์ E1  E2 คือ เหตุการณ์ที่ประกอบด้วยสมาชิกของเหตุการณ์ E1 หรือเหตุการณ์ E2 หรือทั้งสองเหตุการณ์

ตัวอย่าง ในการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง ถ้า E1 เป็นเหตุการณ์ที่ลูกเต๋า ขึ้นแต้มคี่ และ E2 เป็นเหตุการณ์ที่ลูกเต๋าขึ้นแต้มที่เป็นจำนวน เฉพาะ จงหา E1  E2 วิธีทำ แซมเปิ้ลสเปซคือเซตของแต้มบนลูกเต๋า ดังนั้น S = {1,2,3,4,5,6} E1 = {1,3,5} E2 = {2,3,5} ดังนั้น E1  E2 = {1,2,3,5}

อินเตอร์เซคชันของเหตุการณ์ ถ้า E1 และ E2 เป็นเหตุการณ์สองเหตุการณ์ E1  E2 คือ เหตุการณ์ที่ประกอบด้วยสมาชิกของเหตุการณ์ E1 และ E2

ตัวอย่าง ในการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง ถ้า E1 เป็นเหตุการณ์ที่ลูกเต๋า ขึ้นแต้มคี่ และ E2 เป็นเหตุการณ์ที่ลูกเต๋าขึ้นแต้มที่เป็นจำนวน เฉพาะ จงหา E1  E2 วิธีทำ แซมเปิ้ลสเปซคือเซตของแต้มบนลูกเต๋า ดังนั้น S = {1,2,3,4,5,6} E1 = {1,3,5} E2 = {2,3,5} ดังนั้น E1  E2 = {3,5}

เหตุการณ์ที่ไม่เกิดร่วมกัน จะเรียกเหตุการณ์ E1 และ E2 ว่าเป็นเหตุการณ์ที่ไม่เกิด ร่วมกัน ถ้า E1 และ E2 เป็นเหตุการณ์สองเหตุการณ์ที่ E1  E2 = 

ตัวอย่าง ให้ E1 เป็นเหตุการณ์ที่ได้แต้มเป็นจำนวนคี่ ในการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง และ E2 เป็นเหตุการณ์ทีได้แต้มมากกว่า 5 จง แสดงว่า E1 และ E2 ว่าเป็นเหตุการณ์ที่ไม่เกิดร่วมกัน วิธีทำ ให้ E1 = {1,3,5} และ E2 = {6} จะได้ว่า E1  E2 =  ดังนั้น E1 และ E2 ว่าเหตุการณ์ที่ไม่เกิดร่วมกัน

คอมพลีเมนต์ของเหตุการณ์ ให้ S เป็นแซมเปิ้ลสเปซ และ E เป็นเหตุการณ์ คอมพลีเมนต์ของเหตุการณ์ E เขียนแทนด้วย E’ คือ เหตุการณ์ที่ประกอบด้วยสมาชิกที่อยู่ในแซมเปิ้ลสเปซ S แต่ไม่ อยู่ในเหตุการณ์ E

ตัวอย่าง ในการหยิบไพ่หนึ่งใบจากสำรับ ให้ E เป็นเหตุการณ์ที่ได้โพดำ หรือโพแดง ดังนั้น S = {โพดำ, โพแดง, ดอกจิก, ข้าวหลามตัด} E = {โพดำ, โพแดง} E’ = {ดอกจิก, ข้าวหลามตัด}

ผลต่างของเหตุการณ์ ถ้า E1 และ E2 เป็นเหตุการณ์สองเหตุการณ์ E1 - E2 คือ เหตุการณ์ที่ประกอบด้วยสมาชิกของเหตุการณ์ E1 แต่ไม่มีสมาชิกของเหตุการณ์ E2

ตัวอย่าง ในการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง ถ้า E1 เป็นเหตุการณ์ที่ลูกเต๋า ขึ้นแต้มคี่ และ E2 เป็นเหตุการณ์ที่ลูกเต๋าขึ้นแต้มที่เป็นจำนวน เฉพาะ จงหา E1 - E2 วิธีทำ แซมเปิ้ลสเปซคือเซตของแต้มบนลูกเต๋า ดังนั้น S = {1,2,3,4,5,6} E1 = {1,3,5} E2 = {2,3,5} ดังนั้น E1 - E2 = {1}