อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สุดยอดเทคนิค (คำแนะนำ) ของฉัน
Advertisements

Purelife Cindria Soy-Q10 Plus
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
สื่อประกอบการเรียนรู้
เรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย และ การปฏิบัติตนให้เหมาะสม กับพัฒนาการทางด้านร่างกาย พลศึกษาและสุขศึกษา ป.4.
เรื่อง วัยรุ่น เสนอ คุณครู สุดารัตน์ นันทพานิช
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
การเจริญเติบโตของมนุษย์
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
ต่อมไทรอยด์ คือ ต่อมไร้ท่อชนิดหนึ่งของร่างกาย อยู่บริเวณคอด้านหน้า, วางอยู่หน้าต่อหลอดลม ต่อมไทรอยด์ มีหน้าที่สร้างไทรอยด์ฮอร์โมน โดยใช้ ธาตุไอโอดีน.
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
การพัฒนาการทางกาย ของวัยรุ่น.
การปฏิสนธิ-ท้อง9เดือน
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
Thyroid.
โรคเอสแอลอี.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
สารอาหารที่ถูกมองข้าม
การเรียนรู้เรื่องเพศ
ฮอร์โมนในน้ำนมแม่ Insulin growth factorช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของร่างกายเด็ก Thyroxine , thyrotropin-releasing hormone - Thyroxineช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของลำไส้เด็กให้สมบูรณ์
ปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในวัยรุ่น
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
อ่านบ้างนะ มีประโยชน์
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
โรคในระบบต่อมไร้ท่อ.
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะไตวาย.
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
นส.ศิริพันธุ์ ไชยสุริยา รหัสนิสิต
ผลไม้ลดความอ้วน.
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
ควรเริ่มตรวจแป๊บสเมียร์เมื่อใด ใครบ้างที่ควรตรวจแป๊บสเมียร์
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
การผดุงครรภ์ไทย.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การเจริญเติบโตของร่างกาย
โรคเบาหวาน ภ.
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
สาระสำคัญ การป้องกันการตั้งครรภ์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ รวมทั้งโรคเอดส์เป็นความรับผิดชอบของทั้งผู้หญิงและชาย การเรียนรู้เรื่องการป้องกันมีทั้งแง่ดีและแง่ไม่ดี
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
นมแม่สร้างลูก แข็งแรงและฉลาด
ประโยชน์ของผลไม้ไทย.
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
การสืบพันธุ์ของมนุษย์ เป็นการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
การเจริญเติบโตของร่างกาย
กำมะถัน (Sulfur).
การสืบพันธุ์และการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม. สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ์  เพื่อ  1. ดำรงเผ่าพันธุ์  2. ถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด จากบรรพบุรุษไปสู่รุ่นต่อไป.
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
น. ส. สโรชา วิชาชัยม.3 เลขที่ 25 เสนอโดย ครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ โรงเรียนวัดพวงนิมิต ต. เขาสามสิบ อ. เขาฉกรรจ์ จ. สระแก้ว น. ส. สโรชา วิชาชัยม.3 เลขที่ 25.
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
SELENIUM ซีลีเนียม.
วัยรุ่นเป็นวัยที่มีความเปลี่ยนแปลง ทางร่างกายรวมถึงระดับฮอร์โมน จึง ส่งผลให้วัยรุ่นมีความสนใจเพศตรง ข้าม รวมถึงความอยากรู้อยากลอง ตามช่วงวัย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ โดยธรรมชาติแล้ว  ไม่ว่าหญิงหรือชายต่างก็มีฮอร์โมนของทั้งสองเพศอยู่ในร่างกาย  ซึ่งบทบาทของฮอร์โมนเพศนี่เองที่จะทำหน้าที่ขับเน้นให้เกิดความแตกต่างของแต่ละเพศอย่างเด่นชัด  โดยฮอร์โมนเพศถูกสร้างขึ้นในต่อมไร้ท่อที่เรียกว่า  ต่อมโกแนด 

ฮอร์โมนเพศหญิง ฮอร์โมนที่ควบคุมการทำงานของเพศหญิงเรียกว่าเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรน มีหน้าที่ทำให้ผู้หญิงพัฒนาจากเด็กไปสู่วัยสาว  ฮอร์โมนเอสโตรเจนจะทำให้เต้านมขยาย  สะโพกผายขึ้น  น้ำเสียงเปลี่ยนเป็นนุ่มนวล  มีลีลา อ่อนไหวมากขึ้น และที่สำคัญคือการมีประจำเดือน 

ฮอร์โมนเพศชาย ฮอร์โมนที่กำหนดความเป็นชายคือกลุ่มฮอร์โมนแอนโดรเจน  ซึ่งทำหน้าที่สร้างความเป็นชายนับตั้งแต่ปฏิสนธิ  ส่วนใหญ่ได้แก่ เทสโทสเตอโรน  ทำให้เด็กชายที่กำลังเข้าสู่วัยหนุ่มมีเสียงห้าวขึ้น  เริ่มมีหนวด  บางรายมีลักษณะทางพันธุกรรมเด่นชัด เช่น  ศีรษะล้าน

เอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรน เอสโตรเจนเป็นกลุ่มฮอร์โมนที่ทำหน้าที่สร้างลักษณะทางเพศของผู้หญิง ช่วยเสริมสร้างเซลล์ให้เจริญเติบโต  ซ่อมแซมระบบสืบพันธุ์  รักษาสภาพผนังช่องคลอด  ควบคุมเมือกในช่องคลอด เพื่อป้องกันการอักเสบ  นอกจากนี้ยังช่วยเสริมสร้างหน้าอก  ทำให้เต้านมเต่งตึง  สะโพกผาย  ผิวพรรณเปล่งปลั่ง รวมทั้งป้องกันไม่ให้กระดูกผุ และยังช่วยลดคอเลสเตอรอลในเลือดอีกด้วย

หน้าที่หลักอีกอย่างหนึ่งของฮอร์โมนเอสโตรเจนในผู้หญิงคือ ทำให้ไข่ในรังไข่เจริญเติบโต  พร้อมกับเสริมสร้างเยื่อบุมดลูกให้หนาขึ้นด้วย  ระดับฮอร์โมนที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเดือนจะส่งผลให้อารมณ์ของผู้หญิงเปลี่ยนแปลงไป

 เมื่อระดับฮอร์โมนในร่างกายเปลี่ยนแปลงไปในช่วงเข้าสู่วัยทอง  อาการที่มักเกิดขึ้นคือรู้สึกร้อนวูบวาบ  เหงื่อออกตอนกลางคืน  หรือหนาวสั่น  ตื่นบ่อยๆความชื้นในช่องคลอดลดลงทำให้ติดเชื้อง่าย  หมดความสนใจเรื่องเพศสัมพันธ์  อารมณ์แปรปรวน  ปัสสาวะเล็ด  หน้าอกหย่อนยาน  ผิวหนังแห้ง  ภาวะความผิดปกติเหล่านี้จะเกิดแตกต่างกันไปในผู้หญิงแต่ละคน

เทสโทสเตอโรน  ผู้ชายแต่ละวัยจะมีการผลิตฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนที่แตกต่างกันไป  วัยหนุ่มจะผลิตได้มากกว่า  ฮอร์โมนนี้จะส่งผลให้ผู้ชายมีนิสัยชอบเอาชนะและชอบการแข่งขัน  เว้นแม้แต่เรื่องความรักและความสัมพันธ์  นอกจากนี้ในบางช่วงฮอร์โมนชนิดนี้ยังส่งผลให้ผู้ชายรู้สึกเครียด  วิตกกังวล  จนรู้สึกหดหู่มากกว่าปกติและในชายหนุ่มบางรายที่ร่างกายผลิตฮอร์โมนชนิดนี้ไม่เพียงพอ  จะมีอาการเหนื่อยล้าเรื้อรังตลอดจนส่งผลถึงความสามารถในการมีเพศสัมพันธ์ลดลงได้

เทสโทสเตอโรนเป็นฮอร์โมนที่ร่างกายผลิตขึ้นในตอนกลางคืน  ช่วงที่กำลังนอนหลับสนิท  นอกจากนี้แล้วการกินอาหารที่มีแร่ธาตุสังกะสีในปริมาณที่เพียงพอ  คือวันละ 15-25 มิลลิกรัม  จะช่วยกระตุ้นการสร้างฮอร์โมนเพศชายได้อย่างดี  เมื่อมีปริมาณฮอร์โมนเพศชายมากพอก็จะช่วยกระตุ้นการสร้างอสุจิได้โดยอัตโนมัติ  โดยธาตุสังกะสีจะพบมากในอาหารทะเล

การใช้ฮอร์โมนทดแทน   ปี ค.ศ. 2002  มีการค้นพบฮอร์โมนที่สามารถใช้ทดแทนฮอร์โมนเอสโตนเจนได้อย่างปลอดภัยกว่าซึ่งเรียกกันว่าดีไฮโดรอีพิแอนโดรสเตอโรน ( Dehydroepiandrosterone ) หรือ DHEA ซึ่งฮอร์โมนชนิดนี้ร่างกายจะผลิตขึ้นได้เองในต่อมหมวกไต

  ฮอร์โมน DHEA  เมื่ออยู่ในร่างกายจะสามารถเปลี่ยนเป็นฮอร์โมนเพศชาย  และฮอร์โมนเพศหญิงได้  และจะเป็นฮอร์โมนเพศที่สร้างขึ้นทดแทนฮอร์โมนเพศในระบบหมุนเวียนเลือดที่ขาดหายไปทั้งในผู้หญิงและผู้ชายวัยทอง  หรือผู้ที่มีความจำเป็นต้องได้รับการเสริมฮอร์โมน  ซึ่งจะสามารถช่วยให้ฟื้นคืนความตื่นตัวทางเพศได้อีกด้วย

จัดทำโดย นาย ยงยุทธิ์ สุขประสงค์ เลขที่ 12 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เสนอ นาย ยงยุทธิ์ สุขประสงค์ เลขที่ 12 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ โรงเรียนวัดพวงนิมิต ต. เขาสามสิบ อ. เขาฉกรรจ์ จ. สรแก้ว สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสะแก้วเขต 1