โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

ความผิดปกติของระบบต่อมไร้ท่อ
น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ให้พบแพทย์ทันที กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง ได้แก่เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี หญิงมีครรภ์ ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่นโรคปอด หอบหืด.
การเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
บทที่ 2.
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
รายงานเรื่อง เบาหวาน จัดทำโดย ด.ช.พงศกร พรมวงษ์ ม.1/5 เลขที่ 29
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
โรคเอสแอลอี.
Management of Pulmonary Tuberculosis
การออกกำลังกายในคนอ้วน
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพและสมรรถภาพ
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
แนวทางการปฏิบัติ การจัดการน้ำหนักและรอบเอว
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
ทำไมต้องนมแม่ วาสนา งามการ.
ชุดเครื่องมือเดินเพื่อสุขภาพ
ปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในวัยรุ่น
Myasthenia Gravis.
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
โรคในระบบต่อมไร้ท่อ.
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
ผลไม้ลดความอ้วน.
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
Technics in Counseling for Renal Replacement therapy
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด นางสาวนิตติยา บุตรวงษ์
โรคเบาหวาน ภ.
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
การนวดไทยแบบราชสำนัก
กินตามกรุ๊ปเลือด.
โรคเบาหวาน Diabetes.
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
นางสาวนิตย์ติญา ดวงใจ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
เบาหวาน ความรู้เรื่องโรค หลักการออกกำลังกาย การดูแลตนเอง
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม โรคเบาหวาน โดย สุชาดา สัทธรรม โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม

ใครมีโอกาสเป็นโรคเบาหวาน 1.ประวัติครอบครัว 2.อายุมากกว่า 45 ปี 3.อ้วน ดัชนีมวลกายมากกว่า 25 4.ความดันมากกว่า 140/90 มล.ปรอท 5.ระดับไขมัน HDL<33 TG>250 มก.% 6.ผู้ที่ไม่ค่อยออกกำลังกาย 7.ประวัติเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ หรือคลอดบุตร น้ำหนักมากกว่า 4 ก.ก. 1..

เบาหวานเกิดได้อย่างไร เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้อย่างเพียงพอ หรือร่างกายตอบสนองต่ออินซูลินได้น้อยกว่าปกติจึงไม่สามารถเผาผลาญคาร์โบไฮเดรตรวมถึงโปรตีนและไขมันบางส่วนได้ ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เบาหวาน

เบาหวานมี 2 ชนิด เบาหวานชนิดพึ่งอินซูลิน เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้อย่างเพียงพอ มักพบในเด็กและวัยรุ่น เบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน ซึ่งตับอ่อนของผู้ป่วยสร้างอินซูลินได้อย่างเพียงพอ แต่ร่างกายตอบสนองต่ออินซูลินได้น้อย

อาการของผู้ที่อาจเป็นเบาหวาน หิวน้ำบ่อย อ่อนเพลีย หิวเก่ง กินเก่ง แต่น้ำหนักลด คันตามผิวหนัง หรือมีเชื้อรา ปัสสาวะบ่อย หรือปัสสาวะมีมดตอม แผลหายช้า ตาพร่ามัว ชา ไม่ค่อยมีความรู้สึก สมรรถภาพทางเพศเสื่อม อาเจียน

โรคแทรกซ้อน ตา ไต หัวใจและหลอดเลือด ระบบประสาท แผลที่เท้า ภูมิคุ้มกันต่ำเป็นโรคติดเชื้อง่าย

- หมั่นออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ การปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคเบาหวาน - รู้จักการกินอาหาร   อย่าปล่อยตัวให้อ้วน - หมั่นออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ - อย่าวิตกกังวลหรือมีความเครียดให้มากนัก - ต้องระมัดระวังเป็นพิเศษเมื่อพ่อแม่หรือญาติพี่น้องเป็น เบาหวาน - ต้องระมัดระวังเมื่อมีการตั้งครรภ์ - ต้องระมัดระวังเมื่ออายุเกิน 40 ปี

จบค่ะ ! คำถาม ?