เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การตอนกิ่งกลางอากาศ ชื่อต้นไม้ โกสน จัดทำโดย
Advertisements

นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
น้ำหนักแสงเงา.
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
บัวงาม กรุณารอสักครู่
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
รูปแบบการจัดองค์ประกอบ
กลุ่มวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ สำนักพัฒนาพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์
พืชสวนครัว จัดทำโดย เด็กหญิงเจนจิรา เหล่าบัวบาน เลขที่ 23
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
1. ใบเดี่ยว (Simple Leaf)
หูใบ (stipule) ใบอาจจะมีหูใบ (stipulate) หรือไม่มี (exstipulate, estipulate) ก็ได้ หูใบอาจแบ่งออกเป็นหลายแบบ คือ Ligule, Free lateral Stipule, Ochrea,
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
ใบ Leaf or Leaves.
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
ควายเพื่อทำพ่อพันธุ์
การคัดเลือก “ควายงาม” ตามอุดมคติ หรืออุดมทัศนีย์ (Ideal type)
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
อโศกอินเดีย ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyalthia longifolia Benth Pandurata
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
ไทร ชื่อสามัญ Banyan Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus annlata วงศ์ MORACEAE
อโศกอินเดีย ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyalthia longifolia Benth Pandurata
ขี้เหล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ :Cassia siamea Lam. ชื่อวงศ์ (Leguminosae)
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
หูกวาง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia catappa Linn. วงศ์ : COMBRETACEAE
โกสน ชื่อวิทยาศาสตร์ : Codiaeum variegatum Blume
ดอกไอริสจากใยบัว.
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชางานประดิษฐ์จากดินไทย
นำเสนอโดย เด็กชายทักษ์ดนัย แสนวงษ์ ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงอภัสรา ปาสานัย ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงปภัสรา ศรีวาลี ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงดารัตน์ เหิมสามจอด.
นำเสนอโดย สมุนไพรไทย เด็กหญิงสุทธิดา แก้วกลมรัตน์ ป.5 กลุ่มที่ 4
หมากเขียว MacAthur Palm
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
ปีกของแมลง (Insect Wings)
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
Next.
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
อาณาจักร : PlantaePlantae หมวด : MagnoliophytaMagnoliophyta ชั้น : MagnoliopsidaMagnoliopsida อันดับ : MagnolialesMagnoliales วงศ์ : AnnonaceaeAnnonaceae.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ฟีโลทอง philodendron sp.
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
การจัดองค์ประกอบของภาพ
บทที่ 7 หลักการเย็บประกอบตัวกระโปรง.
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
กล้วย.
ดอกไม้ รางวัลที่ 1.
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
จัดทำโดย สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
ด้วงกว่าง.
สมุนไพรล้างพิษ รางจืด
ชื่อเรื่อง ผีเสื้อแสนสวยสายพันธุ์ต่างๆ จัดทำโดย ด. ญ
สารบัญ ระยะเวลาการวางไข่ 3 ตัวหนอน 4 ดักแด้ 5 ตัวเต็มวัย 6.
อาจารย์ ดลหทัย อินทร์จันทร์
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
บทปฏิบัติการที่ 4 หนวดของแมลง (Insect Antennae)
ประเภทของมดน่ารู้.
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน คุณครู อรอุมา พงค์ธัญญดิลก
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
ดอกไม้ฤดูหนาว.
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
Pasture and Forage Crops Glossary
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ กิ่งก้านคดงอ เปลือกต้นบาง ขรุขระเล็กน้อย สีเทาอมเขียว มียางสีขาวข้น.
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
เรื่อง ปลากัด จัดทำโดย
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด.ญ.อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม.1/8 เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน

สารบัญ ลักษณะโดยทั่วไปของบอนสี การปลูกเลี้ยงและการดูแลรักษา การขยายพันธ์ การผสมพันธ์ สมุดภาพ Photo gallery

ลักษณะโดยทั่วไปของบอนสี หัว มีลักษณะคล้ายหัวมันฝรั่งหรือหัวเผือก มีรากฝอยขนาดเล็กแตกออกรอบๆ หัว และที่ใกล้ๆ กับรากหรือระหว่างราก จะมีหน่อ กาบและก้านใบ คือส่วนที่ต่อจากหัวบอน กาบเป็นส่วนโคนของก้านใบ แต่ไม่กลมเหมือนก้านใบ คือมีลักษณะเป็นกาบคล้ายกาบ ของใบผักกาดเป็นที่พักของใบอ่อน ส่วนก้านใบคือส่วนที่ต่อจากกาบใบขึ้นไปยังใบบอน ที่กาบและก้านใบนี้จะมี ลักษณะของสีที่แตกต่างไปจากสีของกาบและใบอย่างเห็นได้ชัด ลักษณะของสีนี้เรียกแตกต่างกันไป ดังนี้ สะพาน มีลักษณะเป็นเส้นขีดเล็กๆ ยาวจากกาบไปตลอดแนวก้านใบขึ้นไปจรดคอใบ ถ้าอยู่ด้านหน้าเรียกสะพานหน้า ถ้า อยู่ด้านหลังเรียกสะพานหลัง เสี้ยน มีลักษณะเป็นจุด เป็นขีด หรือเส้นเล็กๆ สั้นยาวไม่เท่ากันและมีสีต่างกับก้าน กระจายอยู่รอบๆ ก้านใบ สาแหรก มีลักษณะเป็นเส้นเล็กๆ บริเวณโคนก้านใบหรือกาบใบ วิ่งจากบริเวณโคนของกาบใบไปตามก้านใบเป็น เส้นสั้นๆ ไม่ยาวเหมือนสะพาน อาจเป็นเส้นเดี่ยว เส้นคู่ หรือหลายเส้นก็ได้ ล็กๆ หรือที่เรียกกันว่า เขี้ยว ซึ่งสามารถงอกออกเป็นบอนต้นใหม่ได้

แข้ง คือส่วนที่ยื่นออกจากก้านใบ คล้ายใบเล็กๆ อยู่กึ่งกลางก้านหรือต่ำกว่าใบจริง อาจมี 1 หรือ 2 ใบขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ และมักพบในบอนสีประเภทใบกาบ คอใบ คือ ช่วงปลายของก้านใบไปถึงสะดือใบ สะดือ คือ ส่วนปลายสุดของก้านใบจรดกับกระดูก กระดูก คือ เส้นกลางใบที่ลากจากสะดือไปจนสุดปลายใบ เส้น คือ เส้นใบย่อยที่แยกจากกระดูกหรือเส้นกลางใบ

ใบ ของบอนสีมีขนาดและรูปแบบของใบแตกต่างกันออกไป ซึ่งสามารถแบ่งรูปแบบของ ใบได้ 4 ลักษณะ คือ บอนใบไทย เป็นบอนสีที่มีมาแต่โบราณ มีรูปร่างคล้ายหัวใจ หูใบยาวแต่ไม่ฉีกถึง สะดือ ก้านใบอยู่กิ่งกลางใบ ปลายใบแหลมหรือมนขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ บอนใบไทย มักมีใบขนาดใหญ่ สีสันสวยงาม และใบดกไม่ทิ้งใบ บอนใบกลม เป็นบอนที่นับได้ว่าเกิดขึ้นโดยฝีมือคนไทย เกิดขึ้นโดยการผ่าหัว ขยายพันธุ์ของบอนใบไทยเมื่อนำมาปลูกเลี้ยงแล้วเกิดผิดแผกไปจากต้นเดิม คือมี ลักษณะใบกลมขึ้นกลายเป็นบอนใบกลม ปลายใบมนสม่ำเสมอ และมีก้านใบอยู่ บริเวณกิ่งกลางใบ บอนใบกาบ เป็นบอนที่มีก้านใบแผ่แบนตั้งแต่โคนใบจนถึงคอใบ ลักษณะคล้ายใบ ผักกาด บอนใบยาว ซึ่งแต่เดิมเรียกว่าบอนใบจีน มีรูปใบเรียวหรือป้อม หูใบสั้นกลมฉีกถึง สะดือ ก้านใบอยู่ตรงรอยหยักบริเวณโคนใบพอดี

พื้นใบ คือ ส่วนหน้าของใบทั้งหมด บนพื้นใบนี้จะเห็นลักษณะของสีที่แตกต่างกันไปตาม พันธุ์ของบอนสี ซึ่งเรียกต่างกันไปดังนี้ เม็ด คือ จุดหรือแต้มสีบนใบ มีขนาดใหญ่เล็กแตกต่างกัน และมีสีต่างจากสีของพื้น ใบ มีลักษณะของสีและขนาดแตกต่างกันขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ วิ่งพร่า คือ เส้นเล็กๆ ที่มีสีต่างไปจากกระดูกหรือเส้น และวิ่งขนานไปทั้งสองข้างของ กระดูกและเส้น เช่น กระดูกเขียว เส้นเขียว และมีเส้นสีขาวขนานไปทั้งสองข้างของ กระดูกและเส้น ลักษณะนี้เรียกว่า กระดูกเขียว เส้นเขียว วิ่งพร่าขาว หนุนทราย คือ จุดสีเม็ดเล็กๆ ละเอียดมากคล้ายเม็ดทราย กระจายทับบนสีของพื้น ใบ จนมองคล้ายมีสองสี เช่น พื้นใบสีชมพู แต่จะไม่เป็นสีชมพูอย่างชัดเจน เพราะมี เม็ดสีเขียวละเอียดๆ กระจายกระจายทั่วพื้นใบ ลักษณะนี้เรียกว่า พื้นใบสีชมพูหนุน ทรายเขียว ป้าย คือ บอนที่มีบริเวณของสีอื่นที่ต่างไปจากสีของพื้นใบอย่างเห็นได้ชัดป้ายทับอยู่ เช่น บอนที่มีพื้นใบสีเขียวแล้วมีสีแดงป้ายทับ พื้นใบเขียวป้ายแดง