ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
ป.2 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน1,000”
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ความน่าจะเป็น Probability.
Introduction to Probability เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ความน่าจะเป็นเบื้องต้น เรื่อง ความน่าจะเป็นเบื้องต้น อ.สุวัฒน์ ศรีโยธี สาขาวิชาคณิตศาสตร์
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม (Circular Permutation)
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
Counting.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
Probability & Statistics
Probability & Statistics
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
การเรียงสับเปลี่ยนและทฤษฎีการจัดหมู่
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ตัวอย่างที่ 2.8 วิธีทำ.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ลิมิตและความต่อเนื่อง
การนับเบื้องต้น Basic counting
การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องและตั้งใจทำตามกำลังความสามารถของตนเอง ภายในเวลาที่กำหนดให้
แบบฝึกทักษะ เรื่อง กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เศษส่วน.
กฏเกณฑ์นับเบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
แฟกทอเรียลและการเรียงสับเปลี่ยน
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค คณิตศาสตร์ สำหรับคอมพิวเตอร์ 1 ผลคูณคาร์ทีเชียน.
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 )
การให้เหตุผล การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญ มี 2 วิธี ได้แก่
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม
เกมส์ทางคณิตศาสตร์.
การดำเนินการระหว่างเหตุการณ์
การเรียงสับเปลี่ยนและการจัดหมู่สิ่งที่ไม่แตกต่างกัน
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
ทฤษฎีเบื้องต้นของความน่าจะเป็น
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
ค32212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
การทดลองสุ่มและแซมเปิ้ลสเปซ
หน่วยที่ 6 ความน่าจะเป็น โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ปัญหา คิดสนุก.
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ยูเนี่ยนและอินเตอร์เซคชันของเหตุการณ์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
มนุษย์รู้จักใช้การให้เหตุผล เพื่อสนับสนุนความเชื่อ หรือเพื่อหาความจริง
ผังงาน (Flow chart).
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
หลักการทำรังของนกพิราบ
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4 การนับและหลักการนับ ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4

หลักการนับเนื้องต้น ในชีวิตประจำวันเรามักจะต้องใช้การนับกับจำนวน หรือเหตุการณ์ต่างๆเป็นประจำ เช่น จำนวนแมตช์ในการแข่งขัน จำนวนกลุ่มในการ ทำโครงงาน จำนวนวิธีในการจัดหนังสือ เป็นต้น หลักการนับเบื้องต้นจะช่วยให้การนับวิธีหรือ เหตุการณ์ต่างๆ ง่ายขึ้น หลักการนับเบื้องต้นประกอบหลักการคูณและการ บวก

หลักการคูณ พิจารณาจากตัวอย่าง คนกลุ่มหนึ่งประกอบด้วย ชาย 2 คน หญิง 3 คน จงหาจำนวนวิธีเลือกตัวแทนเป็นชาย 1 คน หญิง 1 คน

วิธีทำ สมมติชาย 2 คนคือ ช1, ช2 หญิง 3 คนคือ ญ1, ญ2, ญ3 จะเห็นว่ามีวิธีเลือกตัวแทนทั้งหมด 6 วิธีคือ (ช1,ญ1),(ช1,ญ2),(ช1,ญ3), (ช2,ญ1),(ช2,ญ2),(ช2,ญ3)

ข้อสังเกต สมมติให้ A เป็นเซตของนักเรียนชาย = {ช1,ช2} B เป็นเซตของนักเรียนหญิง = {ญ1,ญ2,ญ3} จำนวนวิธีในการเลือกตัวแทน 2 คนที่เป็นชาย 1 คน และหญิง 1 คน ก็คือจำนวนสมาชิกของเซต A  จำนวนสมาชิกของเซต B ซึ่งเท่ากับ 2  3 = 6 วิธี

กฎของหลักการคูณข้อที่ 1 ถ้าการทำงานอย่างหนึ่งประกอบด้วยการทำงาน 2 ชนิด โดยที่งานชนิดที่ 1 ทำได้ n1 วิธี และแต่ละวิธี ในการทำงานที่ 1 มีวิธีทำงานที่ 2 ได้ n2 วิธี ดังนั้นจำนวนวิธีทั้งหมดของการทำงานนี้เท่ากับ n1n2 วิธี

ตัวอย่าง 1 สมมติวินมอเตอร์ไซค์รับจ้างสี่แยกเซเว่น อ.ปลวก แดง มีทั้งหมด 10 คัน จงหาจำนวนวิธีในการนั่งรถ มอเตอร์ไซค์รับจ้างจากสี่แยกเซเว่นมาโรงเรียนและ กลับคนละคัน

วิธีทำ จำนวนวิธีเดินทางจากสี่แยกมาโรงเรียน 10 วิธี จำนวนวิธีกลับคนละคันมี 9 วิธี ดังนั้น จำนวนวิธีทั้งหมดที่จะเดินทางไปและกลับ เท่ากับ 10  9 = 90 วิธี

ตัวอย่าง 2 จงหาผลลัพธ์จากการโยนเหรียญ 1 เหรียญและ ลูกเต๋า 1 ลูกว่าออกมาได้กี่แบบ วิธีทำ ผลการโยนเหรียญมีได้ 2 แบบคือ หัว,ก้อย ผลการโยนลูกเต๋ามีได้ 6 แบบคือ 1,2,3,4,5,6 ดังนั้นจำนวนผลลัพธ์ทั้งหมด 2  6 = 12 แบบ

กฎของหลักการคูณข้อที่ 2 งานชนิดที่ 1 ทำได้ n1 วิธี ในแต่ละวิธีที่ 1 มีวิธีทำงานชนิดที่ 2 ทำได้ n2 วิธี ในแต่ละวิธีที่ 2 มีวิธีทำงานชนิดที่ 3 ทำได้ n3 วิธี … ในแต่ละวิธีที่ k-1 มีวิธีทำงานชนิดที่ k ทำได้ nk วิธี ดังนั้นจำนวนวิธีทั้งหมดของการทำงานนี้เท่ากับ n1n2n3…nk วิธี

ตัวอย่าง 3 สถานีรถไฟมีทั้งหมด 7 ชานชลา ถ้ามีรถไฟเข้าจอด 3 ขบวนจะมีวิธีจอดรถไฟได้กี่วิธี วิธีทำ รถไฟขบวนที่ 1 จอดได้ 7 วิธี รถไฟขบวนที่ 2 จอดได้ 6 วิธี (จอดไป 1 เหลือ 6) รถไฟขบวนที่ 3 จอดได้ 5 วิธี (จอดไป 2 เหลือ 5) ดังนั้น รถไฟทั้ง 3 ขบวนจะเข้าจอดได้ 765=210 วิธี

ตัวอย่าง 4 จำนวนเต็มคี่บวก 3 หลักมีกี่จำนวนเมื่อเลขไม่ซ้ำกัน วิธีทำ ตัวเลขเป็นเซตของ {0,1,2,3,4,5,6,7,8,9} ตัวเลขในหลักหน่วยเป็นเลขคี่เลือกได้ 5 วิธีคือ {1,3,5,7,9} ตัวเลขในหลักสิบได้ 8 วิธี (ไม่ใช้ 0 และไม่ซ้ำกับหลักหน่วย) ตัวเลขในหลักร้อยได้ 7 วิธี (ไม่ใช้ 0 และไม่ซ้ำกับหลักหน่วย และหลักสิบ) ดังนั้นจำนวนเต็มคี่บวกสามหลักที่ต้องการมี 587=280