ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การแต่งกลอน.
Advertisements

โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
การเขียนบทความ.
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
การเขียนผลงานวิชาการ
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
การเขียน ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
คดี มาจากคำว่า คติ แปลว่า การไป การเคลื่อน แบบ
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตา
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
รายงานการวิจัย.
Tuesdays with Morrie & หลายชีวิต
โครงงานทางวิทยาการคอมพิวเตอร์
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สื่อการสอน ที่พัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้ภาษาไทย
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
ทักษะภาษาไทยที่นักเรียนควรทราบ
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การอ่าน วิชาศท ๐๓๑ การใช้ภาษาไทย.
บทนำ บทที่ 1.
หลักการเขียนโน้มน้าวใจ ลักษณะของสารโน้มน้าวใจ
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
การฟังและการอ่านให้เกิดวิจารณญาณ
การอ่านเชิงวิเคราะห์
ความหมายของการวิจารณ์
จัดทำโดย 1. นาย ยุทธพิชัย ตินรัตน์ ม.5/6 เลขที่ 4 2. นาย สิรภพ พิกุลทอง ม.5/6 เลขที่ นาย พีระทัด นาคดิลก ม.5/6 เลขที่ นาย ภานุวัฒน์ เพ็งผอม.
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
อ่านอะไรและอ่านอย่างไรเพื่อพัฒนาตนในด้านความรู้
การเขียน.
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
ลักษณะข้อสอบการอ่าน PISA 2009.
การเขียนรายงาน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
ประเภทของวรรณกรรม.
การฟังเพลง.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
พระเวสสันดรชาดก.
การอ่านเชิงวิเคราะห์
องค์ประกอบของวรรณคดี
การอ่านเพื่อพัฒนาตนเอง
บทสนทนา การเดินเรื่อง มุมมองของกวี
ความหมายของการวิเคราะห์ วรรณกรรม
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
ความหมายของการวิจารณ์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
หน่วยที่ ๑๑ การศึกษาวรรณกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
ประเภทของการวิจารณ์.
เรื่อง การฟัง ดู คิดและพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
หน่วยที่ ๓ การนำเสนอข้อมูล
การเขียนรายงาน.
การเขียนบทวิจารณ์วรรณกรรม
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๔ ENL 3701
การเขียนรายงานผลการวิจัย
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การเขียนโครงการ.
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี

ความหมายของการวิเคราะห์วรรณกรรม การวิเคราะห์ หมายถึง การพิจารณาตรวจตรา แยกแยะและประเมินค่า ซึ่งจะเกิดประโยชน์ต่อผู้วิเคราะห์ในการนำไปแสดงความคิดเห็น อภิปรายข้อเท็จจริงให้ผู้อื่นทราบ ด้วยว่าใครเป็นผู้แต่ง เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร มีประโยชน์อย่างไร ต่อใครบ้าง ผู้วิเคราะห์ มีความเห็นอย่างไร เรื่องที่อ่านมีคุณค่าด้านใดบ้างและแต่ละด้านสามารถนำไปประยุกต์

หลักการในการวิเคราะห์วรรณกรรม ๑.พิจารณาว่าเรื่องนั้นใช้รูปแบบใด เช่น เป็นนิทาน เรื่องยาว ร้อยกรอง บทละคร เรื่องสั้น บทความ ๒.แยกเนื้อเรื่องให้ได้ว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อไร ๓.แยกพิจารณาให้ละเอียดว่า เนื้อหาประกอบด้วยอะไรบ้าง ๔.พิจารณาว่าใช้กลวิธีในการนำเสนอเรื่องอย่างไร ๕.ลำดับเหตุการณ์ ตามเหตุผล ๖. พิจารณาความคิดที่ผู้เขียนต้องสื่อให้ผู้อ่านทราบและความหมายที่แฝงอยู่ในเนื้อเรื่องหรือข้อความนั้น

ประเด็นที่ใช้ในการวิเคราะห์และวิจารณ์คุณค่าของงานวรรณคดีและวรรณกรรม ๑) คุณค่าด้านวรรณศิลป์ คือ ความไพเราะของบทประพันธ์ ซึ่งอาจทำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ ความรู้สึกและจินตนาการตามรส ความหมายของถ้อยคำและภาษาที่ผู้แต่งเลือกใช้ ๒) คุณค่าด้านเนื้อหาสาระ แนวความคิดและกลวิธีนำเสนอทั้ง ๒ ประเด็นนี้ จะอธิบาย และยกตัวอย่างประกอบพอเข้าใจ โดยจะกล่าวควบกันไปทั้งการวิเคราะห์และการวิจารณ์

๓) คุณค่าด้านสังคม วรรณคดีและวรรณกรรมจะสะท้อนให้เห็นสภาพของสังคมและวรรณคดีที่ดีสามารถจรรโลงสังคมได้อีกด้วย ๔) การนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ผู้อ่านสามารถนำแนวคิดและประสบการณ์จากเรื่องที่อ่านไปประยุกต์ใช้หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้

ตัวอย่างการวิเคราะห์ เรื่องวอนขอ... เมื่อเรายังเล็กเป็นเด็กน้อย เคยกล่าวถ้อยวอนจันทราว่าให้สม ขอข้าวแกงแหวนให้น้องปองนิยม ขอเตียงตั่งนั่งชมดาวและเดือน เมื่อเห็นดาวล้อมเดือนกลาดเกลื่อนฟ้า ชวนน้องนับดาราที่เป็นเพื่อน ระยับระยิบพริบตาดาวพร่าเลือน แต่ดวงเดือนเด่นสว่างกลางโพยม อยากตะกายว่ายฟ้าไปหาจันทร์ และใฝ่ฝันอยากเอื้อมให้ถึงโสม เคยนึกตามใจชอบปลอบประโลม ว่าเติบใหญ่จะได้โคมรัตติกาล ฝันไปตามอารมณ์ผสมโง่ ว่าเติบโตจะบินไปด้วยใจหาญ สอยดวงดาวพราวฟ้ามาเป็นยาน พาเราผ่านเมฆด้นจนถึงจันทร์ บทกวีเรื่อง วอนขอ ของ กุลทรัพย์ รุ่งฤดี

ผลวิเคราะห์และวิจารณ์คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ลักษณะคำประพันธ์ เป็นกลอนสุภาพจำนวน ๔ บท เนื้อความ กล่าวถึงตัวผู้เขียน เมื่อเป็นเด็ก เคยวอนขอสิ่งต่าง ๆ จากดวงจันทร์ และอยากไปให้ถึงดวงจันทร์ ผู้เขียนใช้ถ้อยคำ แสดงภาพความฝันอย่างง่าย ๆ แต่ให้ความรู้สึกน่ารัก สวยงาม เช่น ดาวล้อมเดือน ระยับระยิบ เด่นสว่าง ตะกายว่ายฟ้า ลีลาการเขียนเช่นนี้วิจารณ์ได้ว่า สร้างอารมณ์คนอ่านได้ดี ชวนให้คิดถึงดวงจันทร์ ดวงดาวที่กลาดเกลื่อนอยู่บนท้องฟ้ายามค่ำคืน เป็นบทร้อยกรองที่ใช้ถ้อยคำช่วยสร้างความรู้สึกและมีเนื้อหาทำให้เกิดการสร้างสรรค์จินตนาการได้

ขอบคุณค่ะ