หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ งานนำเสนอ
Advertisements

เนื้อหา โครงสร้างส่วนประกอบของเซลล์ประสาท ชนิดและหน้าที่ของเซลล์ประสาท
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
หน่วยของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยหน่วยย่อยเล็กๆเรียกว่า เซลล์ 1.สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม ยีสต์ 2.สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่น.
ของส่วนประกอบของเซลล์
กำเนิดเซลล์โปรคาริโอต
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของพืช
แสงและการมองเห็น ผู้จัดทำ นางเฉลิมศรี เปียปาน.
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
การลำเลียงผ่านเมมเบรน
วิชา สรีรวิทยาของพืช ( ) (Plant Physiology) วันที่ 8 มิถุนายน 2552
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
3. ขึ้นอยู่กับระยะทางจากวัตถุถึงตัวกล้อง
Station 15 LE preparation and ESR
การใส่ภาพลงบน Work Sheet...
DNA สำคัญอย่างไร.
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
เครื่องถ่ายเอกสาร.
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
การมองเห็น และความผิดปกติของตา
นักเรียนเห็นอะไรบ้างค่ะ?
การจัดองค์ประกอบของภาพ
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
กล้องโทรทรรศน์.
แสง การมองเห็น และทัศนอุปกรณ์
รูปทรงเรขาคณิต จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง ชั้น ม. 1/4 เลขที่ 14
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
ดาวศุกร์ (Venus).
สถานที่น่าสนใจใน 10 ประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด. ญ
ชื่อเรื่อง วัฏจักรของน้ำ จัดทำโดย เด็กชาย โชคชัย คำมะยอม เลขที่ 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เสนอ อ.อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร สารบัญ.
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
เรื่อง การสังเคราะห์แสง
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ผลงานโดย 1. นางสาวกนกนันทน์ สารสมัคร
ประเภทของมดน่ารู้.
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ผลไม้เพื่อสุขภาพ จัดทำโดย ด.ญ.ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18
ดาวเสาร์ (Saturn).
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
เรื่อง พืชสวนครัวสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
เรื่อง การสังเคราะห์แสงของพืช จัดทำโดย ด. ช
เรื่อง สิ่งมหัศจรรย์ของโลก จัดทำโดย ด. ญ. ภัทรนิษฐ์ ทะนันชัย เลขที่ 15 ชั้น ม.1/8 เสนอ คุณครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
เซลล์พืช และ เซลล์สัตว์
20 อันดับเรื่องเหลือเชื่อทางวิทยาศาสตร์ จัดทำโดย ด. ญ. ดารารัตน์ สารพยอม ชั้น ม.1/12 เลขที่ 15 เสนอ ครูอรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงรียนจักรคำคณาทรจังหวัดลำพูน.
เรื่องทำ Animetion ง่ายๆด้วย Easy toon จัดทำโดย ชื่อ ด. ช. ชนาธิป อร่ามดิลกรัตน์ เลขที่ 10 ชั้น 1/8 เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร.
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
10 อันดับประเทศที่น่าเที่ยวที่สุดใน โลก จัดทำโดย เด็กชายอติชาต ปันเต ชั้น ม. 1/12 เลขที่ 4 เสนอ ครูอรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทรจังหวัดลำพูน.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
Kingdom Plantae.
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2 ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2 เสนอ คุณครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน MENU

MENU รู้จักและใช้งานกล้องจุลทรรศน์ เซลล์ของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้า-ออกเซลล์ บรรณานุกรม กลับไปหน้าแรก

รู้จักและใช้งานกล้องจุลทรรศน์ วิธีใช้ 1. วางกล้องให้ฐานอยู่บนพื้นรองรับที่เรียบสม่ำเสมอ เพื่อให้ลำกล้องตั้งตรง 2. หมุนเลนส์ใกล้วัตถุ กำลังขยายต่ำสุดอยู่ตรงกับลำกล้อง 3. ปรับกระจกเงาใต้แท่นวางวัตถุให้แสงสะท้อนเข้าลำกล้องเต็มที่ โดยใช้ตามองผ่านเลนส์ใกล้ตาลงไป จะเห็นเป็นวงกลมสีขาวที่มีความสว่าง 4. นำสไลด์ที่จะศึกษาวางบนแท่นวางวัตถุ ให้วัตถุอยู่กลางบริเวณที่แสงผ่าน แล้วค่อยๆ หมุนปุ่มปรับภาพหยาบ ให้ลำกล้องเลื่อนลงมาอยู่ใกล้วัตถุที่จะศึกษามากที่สุด โดยระวังอย่าให้เลนส์ใกล้วัตถุสัมผัสกับกระจกปิดสไลด์ 5. มองผ่านเลนส์ใกล้ตา ลงตามลำกล้องพร้อมกับหมุนปุ่มปรับภาพหยาบ ขึ้นช้าๆ จนมองเห็นวัตถุที่จะศึกษาแล้วจึงเปลี่ยนมาหมุนปุ่มปรับภาพละเอียด เพื่อปรับภาพให้ชัด 6. ถ้าต้องการขยายภาพให้ใหญ่ขึ้น ให้หมุนเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกำลังขยายสูงขึ้น เข้ามาในแนวลำกล้อง โดยไม่ต้องขยับสไลด์อีก แล้วหมุนปุ่มปรับภาพละเอียดเพื่อให้เห็นภาพชัดเจนขึ้น 7. การปรับแสงที่เข้าในลำกล้องให้มากหรือน้อยให้หมุนปุ่มปรับไดอะแฟรม ปรับแสงตามต้องการ MENU

เซลล์ของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบด้วยเซลล์     เซลล์พืชและเซลล์สัตว์แตกต่างกัน ทั้งรูปร่างและรูปร่าง   แต่ที่สำคัญคือเซลล์ของสิ่งมีชีวิตมีส่วนประกอบที่สำคัญ  3 ส่วนที่เหมือนกัน ได้แก่ นิวเคลียส ไซโทพลาซึม และเยื่อหุ้มเซลล์  1.นิวเคลียส      2. ไซโทพลาซึม            3. เยื่อหุ้มเซลล์    ผนังเซลล์          คลอโรพลาสต์  MENU

การลำเลียงสารเข้า - ออกเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์  เป็นเยื่อบาง ๆ ล้อมรอบไซโทพลาซึม พบในเซลล์ทุกชนิด มีความหนาประมาณ  8.5  - 10 นาโนเมตร กั้นสารที่อยู่ภายในกับภายนอกเซลล์   ทำหน้าที่ รักษาสมดุลของสารภายในเซลล์โดยการควบคุมการผ่านเข้าออกของสารระหว่าง เซลล์กับสิ่งแวดล้อมภายนอก โครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์และเยื่อหุ้มออร์แกเนลล์ประกอบด้วยฟอสโฟลิพิดเรียงตัวเป็น   2  ชั้น (lipid bilayer) โดยหันปลายข้างที่มีขั้ว ( ชอบน้ำ ) ออกด้านนอก  หันปลายข้างที่ไม่มีขั้ว ( ไม่ชอบน้ำ ) เข้าด้านใน มีโปรตีน คอเลสเทอรอล ไกลโคลิพิด ไกลโคโปรตีน แทรกอยู่ การเรียงตัวแบบนี้เรียกว่า ฟลูอิดโมเซอิกโมเดล ( Fluid mosaic model ) MENU

บรรณานุกรม www.suksapen.or.th MENU