การทดลองสุ่มและแซมเปิ้ลสเปซ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความน่าจะเป็น Probability.
Advertisements

สับเซตและเพาเวอร์เซต
เรื่อง เซต ความหมายของเซต การเขียนเซต ชนิดของเซต สับเซตและเพาเวอร์เซต
เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
Introduction to Probability เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ความน่าจะเป็นเบื้องต้น เรื่อง ความน่าจะเป็นเบื้องต้น อ.สุวัฒน์ ศรีโยธี สาขาวิชาคณิตศาสตร์
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม (Circular Permutation)
ป.4 บทที่ 1 “จำนวนนับ เกิน100,000”
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
Probability & Statistics
Probability & Statistics
การเรียงสับเปลี่ยนและทฤษฎีการจัดหมู่
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
การดำเนินการของเซต 1. ยูเนียน
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
Bayes’ Theorem Conditional Prob มีหลาย condition A1, A2, A3, …., An
โดย มิสกรรณกา หอมดวงศรี
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
การบ้าน แซมเปิลสเปซ.
แผนผังคาร์โนห์ Kanaugh Map
ความสัมพันธ์และความสัมพันธ์ทวิภาค
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
การแปลงเลขฐานใดๆเป็นฐานใดๆ
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
การดำเนินการบนความสัมพันธ์
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
Flow Chart INT1103 Computer Programming
การแทนข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการทำงานเพื่อเก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ การมองเห็นข้อมูลของคอมพิวเตอร์กับการมองเห็นข้อมูลของผู้ใช้จะไม่เหมือนกัน.
ตัวอย่างที่ 2.10 วิธีทำ เหรียญ.
ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบเลขฐาน
การดำเนินการระหว่างเหตุการณ์
การเรียงสับเปลี่ยนและการจัดหมู่สิ่งที่ไม่แตกต่างกัน
อ สิทธิชัย เอี่ยววุฑฒะจินดา
ทฤษฎีเบื้องต้นของความน่าจะเป็น
LAB 1. การเขียนสมการลอจิก จากวงจรลอจิก
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด
การแก้โจทย์ปัญหาเซตจำกัด 2 เซต
หน่วยที่ 6 ความน่าจะเป็น โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
LAB 2. การเขียนวงจรลอจิกจากสมการลอจิก
ปัญหา คิดสนุก.
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ยูเนี่ยนและอินเตอร์เซคชันของเหตุการณ์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทดลองสุ่มและแซมเปิ้ลสเปซ ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4

การทดลองสุ่ม การทดลองสุ่ม หมายถึง การทดลองที่ทราบขอบเขตของ ผลลัพธ์แต่ไม่สามารถบอกได้อย่างถูกต้องแน่นอนว่าแต่ละครั้ง ที่ทำการทดลองเกิดผลลัพธ์ใด ตัวอย่างเช่น 1. โยนเหรียญต่างกัน 2 อัน 1 ครั้ง ถือว่าเป็นการทดลองสุ่ม เพราะสามารถบอกได้ว่าผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคือหน้า (หัว,หัว), (หัว,ก้อย), (ก้อย,หัว), หรือ (ก้อย,ก้อย) 2. การเลือกตัวอักษร 2 ตัว จากตัวอักษร 4 ตัว A B C และ D ก็เป็นการทดลองสุ่มเพราะสามารถบอกได้ว่าจะได้ตัวอักษร AB, AC, AD, BC, BD หรือ CD

แซมเปิ้ลสเปซ แซมเปิ้ลสเปซ คือ เซตของผลลัพธ์ที่เป็นไปได้ทั้งหมดของการ ทดลองสุ่ม ตัวอย่างเช่น 1. โยนเหรียญต่างกัน 2 อัน 1 ครั้งให้ H แทนหน้าหัว และ T แทนหน้าก้อยจะได้ แซมเปิ้ลสเปซ S = {HH,HT,TH,TTT} 2. การเลือกตัวอักษร 2 ตัวจากตัวอักษร 4 ตัว A B C D แซมเปิ้ลสเปซ S = {AB,AC,AD,BC,BD,CD}

เหตุการณ์ เหตุการณ์คือสิ่งที่เรากำลังสนใจ เป็นสับเซตของแซมเปิ้ลสเปซ ถ้าแซมเปิ้ลสเปซของการทดลองสุ่มมีสมาชิก N ตัวจะได้ว่า จำนวนเหตุการณ์จะมีทั้งหมด 2N เหตุการณ์ และจะเห็นว่าแซมเปิ้ลสเปซ และ  ต่างก็เป็นเหตุการณ์ด้วย

ตัวอย่าง สุ่มครอบครัวที่มีบุตร 3 คนมาครอบครัวหนึ่ง จงเขียนแซม เปิ้ลสเปซและเหตุการณ์ที่ครอบครัวนั้นมีบุตรชาย 2 คน วิธีทำ ให้ ช แทน บุตรชาย ญ แทน บุตรหญิง จะได้ S = {ชชช, ชชญ, ชญช, ชญญ, ญชช, ญชญ, ญญช, ญญญ} E = {ชชญ, ชญช, ญชช}

ตัวอย่าง สุ่มเลขฐานสอง 3 หลัก จงเขียนแซมเปิ้ลสเปซและเหตุการณ์ที่ จะมีเลข 1 ในเลขฐานสองนั้นอย่างน้อย 2 ตัว วิธีทำ จะได้ S = {000,001,010,011,100,101,110,111} E = {011,101,110}