การวิเคราะห์แบบลูป ตอนที่ ๑ การวิเคราะห์ลูปแบบทั่วไป

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ลิมิตและความต่อเนื่อง
5.3 สัญลักษณ์และความสัมพันธ์แรงดัน-กระแสของ MOSFET
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
โรงเรียนวัดปากน้ำฝั่งเหนือ
อสมการ.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ EG 3 กันยายน 2551.
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
กระแสไฟฟ้า Electric Current
CHAPTER 18 FOURIER TRANSFORM
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
เทคนิคทางคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
การหาปริพันธ์ (Integration)
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
CHAPTER 4 Circuit Theorems
Second-Order Circuits
Sinusoidal Steady-State Analysis
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
(Internal energy of system)
การแปรผันตรง (Direct variation)
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 6 วงจรไฟฟ้าสามเฟส Three-Phase Circuits (Part II)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Electrical Circuit Analysis 2
Sinusiodal Steady-State Analysis
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน
บทที่ 4 ตัวแบบควบคู่ และการวิเคราะห์ความไว (Dual Problem and Sensitivity Analysis) Operations Research โดย อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล.
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
ระบบเลขจำนวน ( Number System )
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
ทฤษฎีของมิลล์แมน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด
การหาเซตคำตอบของสมการ ค่าสัมบูรณ์
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์แบบลูป ตอนที่ ๑ การวิเคราะห์ลูปแบบทั่วไป ตอนที่ ๒ การวิเคราะห์ลูปแบบเป็นรูปแบบ

การวิเคราะห์ลูป (Loop Analysis) เรื่องการวิเคราะห์บรานซ์ การใช้กฎของเคอร์ชอฟฟ์ ที่เรียกว่า การวิเคราะห์บรานซ์ กำหนดกระแสที่มีทิศทางในแต่ละบรานซ์ของวงจรไฟฟ้า กำหนดทิศทางกระแสไหลในแต่ละบรานซ์ ระบุขั้วไฟฟ้าของตัวต้านทานแต่ละตัวตามทิศทางของกระแสไหลในแต่ละบรานซ์ เขียนสมการโดยใช้กฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์ในแต่ละลูปปิดอิสระ ใช้กฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์ให้มีจำนวนโนดน้อยที่สุด หากระแสในแต่ละบรานซ์โดยใช้ดีเทอร์มิแนนต์

รูปที่ 8.18 การหาจำนวนลูปปิดอิสระของวงจรไฟฟ้า จะเขียนสมการตามกฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์ในแต่ละลูปปิดอิสระ

ตัวอย่างที่ 8.12 จงประยุกต์ใช้วิธีการวิเคราะห์บรานซ์ จากวงจรต่อไปนี้

วิธีทำ ขั้นที่ 1 กำหนดทิศทางกระแสไหลในแต่ละบรานซ์ ขั้นที่ 2 ระบุขั้วไฟฟ้าตัวต้านทานแต่ละตัวให้สอดคล้องกับทิศทางกระแส

ขั้นที่ 3 ใช้กฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์เพื่อเขียนสมการ ขั้นตอนที่ 4 ใช้กฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์ที่โนด a จะได้

ขั้นตอนที่ 5 เขียนสมการเชิงเส้น จากแต่ละลูป หาค่ากระแสด้วยดีเทอร์มิแนนต์

การแก้ปัญหาโดยการใช้สมการเพียง 2 สมการ ดังนี้

การวิเคราะห์ลูปทั่วไป (General Approach Loop Analysis) นิยมใช้กันมาก สามารถลดขั้นตอนการแทนผลของการใช้กฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์ลงไปในสมการที่ได้จากกฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์ (I1 + I2 = I3) เป็นการวิเคราะห์โดยใช้กฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์เพื่อสร้างสมการพีชคณิตในแต่ละลูปปิดอิสระ (ในลูปปิดใดๆ ผลรวมของแรงดันมีค่าเท่ากับศูนย์)

ขั้นตอนในการวิเคราะห์ลูปแบบทั่วไป มีดังนี้ ขั้นที่ 1 กำหนดกระแสลูป (I1 และ I2) ในทิศทางตามเข็มนาฬิกา ขั้นที่ 2 ระบุขั้วไฟฟ้าตัวต้านทานแต่ละตัวตามทิศทางของกระแสลูป ขั้นที่ 3 เขียนสมการโดยใช้กฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์ในแต่ละลูป ทิศทางตามเข็มนาฬิกา ขั้นที่ 4 หาค่ากระแสลูปด้วยการแก้ปัญหาสมการพีชคณิตเชิงเส้น

ตัวอย่างที่ 8.14 จงหาค่ากระแสไหลผ่านตัวต้านทาน 4 

ตัวอย่างที่ 8.14 จงหาค่ากระแสไหลผ่านตัวต้านทาน 4  วิธีทำ

การวิเคราะห์ลูปชนิดเป็นรูปแบบ กำหนดกระแสลูปในแต่ละลูปปิดในทิศทางตามเข็มนาฬิกา การสร้างสมการจะมีจำนวนสมการเท่ากับจำนวนลูปปิดที่ได้กำหนดไว้ โดยคอลัมน์ที่ 1 ของแต่ละสมการคือผลรวมของค่าความต้านทานที่กระแสในลูปนั้นไหลผ่านคูณกับกระแสของลูปนั้น คอลัมน์ต่อๆ ไปเป็นการพิจารณาเทอมร่วม นั่นคือเทอมของตัวต้านทานที่มีกระแสลูปมากกว่าหนึ่งลูปไหลผ่านและมีความเป็นไปได้ที่จะมีเทอมร่วมมากกว่าหนึ่งเทอม เทอมร่วมแต่ละเทอมจะเป็นผลคูณระหว่างค่าความต้านทานของตัวต้านทานร่วมกับกระแสลูปอื่นๆ ที่ไหลผ่านมันและค่าจะเป็นลบเสมอ คอลัมน์ทางขวามือของเครื่องหมายเท่ากับคือผลรวมทางพีชคณิตของแหล่งจ่ายแรงดันที่แต่ละลูปไหลผ่าน แก้ปัญหาสมการพีชคณิตเชิงเส้นเพื่อหาค่ากระแสตามที่ต้องการ