กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เคมีอินทรีย์ AOIJAI WICHAISIRI.
Advertisements

โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
ไฮบริไดเซชัน (Hybridization)
H จะเข้าที่ C ที่มี H มากกว่า และ X จะเข้าที่ C ที่มี H น้อยกว่า
Photochemistry.
Imidazole จึงเป็นสารประกอบอะโรมาติก
เฉลยการบ้าน Stereochemistry
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
ปฏิกิริยาออกโทซิเดชัน (autoxidation)
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 1. ในแต่คู่ต่อไปนี้ ไออนใดมีขนาดใหญ่กว่าและทำไมถึงเป็นเช่นนั้น ก. N3- and F- ข. Mg2+ and Ca2+ ค. Fe2+ and Fe3+ ง. K+ and Li+
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
ลำดับเรขาคณิต Geometric Sequence.
สรุป ทฤษฎี MOT : เป็นการสร้าง orbs ของ โมเลกุลขึ้นมาโดยใช้ valence AO’s ทั้งหมดของอะตอมในโมเลกุล, จำนวน MO’s ทั้งหมดที่ได้ = จำนวน AO’s ที่นำมาใช้ แต่ละ.
หน่วย 6 การพัฒนาสารสนเทศ
หินแปร (Metamorphic rocks)
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
พันธะเคมี Chemical bonding.
H 1 1s1 He 2 1s2 Li 3 1s22s1 = [He] 2s1 Be 4 1s22s2 = [He] 2s1
การทดลองที่ 5 Colligative property
Chemical Bonding I: Basic Concepts
อะตอมของออกซิเจน.
พลังงานไอออไนเซชัน.
ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ธาตุในตารางธาตุ Chaiwat Chueamang.
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
แนวโน้มของตารางธาตุ.
วัสดุศาสตร์ Materials Science.
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
Coagulation and Flocculation
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
จัดทำโดย ด.ช.ธีรัตม์ ทัศนัย
Exp. 6 Crystal Structure Pre-Lab
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
อาหารปลอดภัยด้านประมง
พันธะเคมี.
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
บทที่ 8 การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้และเศษเหลือทิ้ง
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
ความหมาย รูปแบบหนึ่งของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่ง มีการออกแบบบทเรียน โดยมีเป้าหมายที่จะเสนอ ข้อคำถามในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
ความกระด้างของน้ำ (water Hardness)
พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี ครูพรรณิภา กิจเอก กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ครูชำนาญการ โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี

พันธะไอออนิก (Ionic bond) พันธะไอออนิกเป็นพันธะที่ยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนที่มีประจุไฟฟ้าต่างกัน ซึ่งเกิดจากการให้และรับอิเล็กตรอน(เพื่อให้เวเลนซ์อิเล็กตรอนครบ 8)

มีหลายข้อจะจำได้รึเปล่านะ...! พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก 1. พลังงานการระเหิด มีหลายข้อจะจำได้รึเปล่านะ...! 2. พลังงานสลายพันธะ 3. พลังงานไอออไนเซชัน 4. สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน 5. พลังงานแลตทิช

หนูๆช่วย POOH เรียงลำดับขั้นตอนการเกิดสารประกอบไอออนิกด้วยจ้า.....! พลังงานแลตทิช พลังงานไอออไนเซชัน 1 2 3 พลังงานสลายพันธะ 4 5 สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน พลังงานการระเหิด

การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น มีพลังงานเกี่ยวข้อง 2 ประเภท คือ ไม่ยากอย่างที่คิด 1. การเปลี่ยนแปลงประเภทดูดพลังงาน 2. การเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงาน

1. การเปลี่ยนแปลงประเภทดูดพลังงาน ได้แก่ H1 คือ พลังงานการระเหิด สู้ๆๆ นะคะ H2 คือ พลังงานการสลายพันธะ H3 คือ พลังงานไอออไนเซชัน

2. การเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงาน H4 คือ สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน ต่ออีกนิดนะคะ H5 คือ พลังงานแลตทิช

พลังงานการระเหิด พลังงานการสลายพันธะ พลังงานไอออนเซชัน พลังงานการระเหิด พลังงานการสลายพันธะ พลังงานไอออนเซชัน เป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดพลังงาน ถูกต้องค่ะ ง่ายจัง...! ผิดค่ะ

สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน พลังงานแลตทิช เป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงาน สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน พลังงานแลตทิช เป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงาน ถูกต้องค่ะ ง่ายอีกแล้ว...! ผิดค่ะ

พลังงานในการเกิดโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) = H1 + H2 + H3 + H4 + H5 = (+109) + (+121) + (+494) + (-347) + (-787) = - 410 kJ/mol นั่นคือ การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์(NaCl) เป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงาน

โครงสร้างของสารประกอบไออนิก 1. โครงสร้างของผลึกชนิดเกลือหินหรือโซเดียมคลอไรด์ 2. โครงสร้างของผลึกชนิดซีเซียมคลอไรด์ 3. โครงสร้างของผลึกชนิดซิงค์ซัลไฟด์หรือซิงค์เบลนด์ 4. โครงสร้างผลึกชนิดแคลเซียมฟลูออไรด์

1. โครงสร้างของผลึกชนิดเกลือหินหรือโซเดียมคลอไรด์ 1. โครงสร้างของผลึกชนิดเกลือหินหรือโซเดียมคลอไรด์ โครงสร้างแบบโซเดียมคลอไรด์มีการจัดเรียงตัวของไอออน คือ Na+ จะมี Cl-ห้อมล้อมและสัมผัสโดยรอบ 6 ไอออนและ Cl- จะมี Na+ ห้อมล้อมและสัมผัสโดยรอบ 6 ไอออน เช่น NaCl NaBr เป็นต้น

2. โครงสร้างของผลึกชนิดซีเซียมคลอไรด์ 2. โครงสร้างของผลึกชนิดซีเซียมคลอไรด์ โครงสร้างแบบซีเซียมคลอไรด์มีการจัดเรียงตัวของไอออน คือ Cs+ จะมี Cl-ห้อมล้อมและสัมผัสโดยรอบ 8 ไอออนและ Cl- จะมี Cs+ ห้อมล้อมและสัมผัสโดยรอบ 8 ไอออน เช่น CsBr CsI

3. โครงสร้างของผลึกชนิดซิงค์ซัลไฟด์หรือซิงค์เบลนด์ 3. โครงสร้างของผลึกชนิดซิงค์ซัลไฟด์หรือซิงค์เบลนด์ โครงสร้างแบบซิงค์ซัลไฟด์มีการจัดเรียงตัวของไอออน คือ Zn2+ จะมี S2- ห้อมล้อมและสัมผัสโดยรอบ 4 ไอออนและ S2- จะมี Zn2+ ห้อมล้อมและสัมผัสโดยรอบ 4 ไอออน เช่นBeS CdS เป็นต้น

4. โครงสร้างผลึกชนิดแคลเซียมฟลูออไรด์ 4. โครงสร้างผลึกชนิดแคลเซียมฟลูออไรด์ โครงสร้างแบบแคลเซียมฟลูออไรด์มีการจัดเรียงตัวของไอออน คือ Ca2+ จะมี F- ห้อมล้อมและสัมผัสโดยรอบ 8 ไอออนและ F- จะมี Ca2+ ห้อมล้อมและสัมผัสโดยรอบ 4 ไอออน เช่น BaCl2 PbF2 เป็นต้น

ผลึกซีเซียมคลอไรด์ หนูๆช่วยจับคู่ชื่อโครงสร้างผลึกกับรูปด้วยค่ะ ผลึกโซเดียมคลอไรด์ ผลึกซีเซียมคลอไรด์ ผลึกซิงค์ซัลไฟด์หรือซิงค์เบลนด์ ผลึกแคลเซียมฟลูออไรด์

พันธะไอออนิกมีการให้และรับอิเล็กตรอนเพื่อให้เวเลนซ์อิเล็กตรอนเป็นไปตามกฎออกเตตซึ่งมีค่าเท่ากับ <Keypad will appear here based on shape and location of this rectangle.> ช่วยคิดหน่อยค่ะ

สารข้อใดต่อไปนี้แตกต่างจากสารอื่น 30 ก. โพแทสเซียมคลอไรด์ ข. คอปเปอร์(II)คลอไรด์ ค. อะลูมิเนียมคลอไรด์ ง. โบรอนไตรคลอไรด์ เริ่มแล้วนะคะ

สารชนิดใดปกติเป็นของแข็งไม่นำไฟฟ้า แต่เมื่อหลอมเหลวนำไฟฟ้าได้ดี 30 ก. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ข. แคลเซียมฟลูออไรด์ ค. อาร์ซินิกไตรคลอไรด์ ง. ฟอสฟอรัสไตรไฮไดด์ ทำไมง่ายอย่างนี้

สารชนิดใดปกติเป็นของแข็งไม่นำไฟฟ้า แต่เมื่อหลอมเหลวนำไฟฟ้าได้ดี 30 ก. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ข. แคลเซียมฟลูออไรด์ ค. อาร์ซินิกไตรคลอไรด์ ง. ฟอสฟอรัสไตรไฮไดด์ ทำไมง่ายอย่างนี้