จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ENVIRONMENTAL SCIENCE
Advertisements

ทฤษฎีการสื่อสาร จัดทำโดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล
แบบทดสอบ รูปทรงสัณฐานของโลกลักษณะใดทำให้โลกมิได้มีทรงกลมเหมือนลูกปิงปอง ก แกนของโลก เอียง ข มีผิวขรุขระคล้ายผลส้ม ค ขั้วโลกทั้งสองยุบตัวลงเล็กน้อย ง มีพื้นน้ำมากกว่าผิวพื้นดิน.
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
รายงานการวิจัย.
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
การมองทฤษฎีการพัฒนาอย่างวิเคราะห์
Physiology of Crop Production
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
การศึกษาต่อในประเทศจีน
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
การคิดเชิงระบบ และการคิดเชิงวิเคราะห์
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์
สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
วิธีการทางวิทยาการระบาด
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
Aesthetic of Home and Garden Dr. Naris Sinsiri Dr. Wantana Sinsiri.
องค์ประกอบต่างๆของสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
บทนำการบริหารโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ
Geographic Information System
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
สรุปเนื้อหาสาระ ภูมิศาสตร์
เครื่องมือและเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
กรอบในการวิเคราะห์ ผลกระทบจากโครงการ พัฒนาของรัฐ.
การออกแบบการเรียนรู้ โดย ครูจตุพล สุทธิพันธ์
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
วิธีการคิดวิเคราะห์.
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี เศรษฐศาสตร์กับ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์กับ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ ผู้สอน ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน ครูพัทธนันท์
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
ครูจงกล กลางชล 1. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจเรื่องประชากร และสิ่งที่ประชากรสร้างขึ้น เพื่อประโยชน์ในการดำรงชีวิต 2.
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาการวิเคราะห์ข้อมูลทางภูมิศาสตร์กายภาพทั้ง 6 ภาคของไทย และสภาวะแวดล้อมต่างๆ ศึกษาภัยธรรมชาติต่างๆ ซึ่งทำให้เกิดลักษณะเฉพาะหรือปรากฏการณ์ในพื้นที่
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
มนุษยสัมพันธ์ในการบริหารการศึกษา
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ครูจงกล กลางชล 1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รู้และเข้าใจเกี่ยวกับ สภาพแวดล้อมทางสังคม และวัฒนธรรม 2.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
1.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24 แผนที่ทางภูมมิศาสตร์ จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24

ภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์ (อังกฤษ: geography) เป็นสาขาวิชาหนึ่งที่ทำการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับคุณลักษณะเฉพาะ ของสถานที่ที่ปรากฏอยู่บนพื้นผิวโลก ภูมิศาสตร์จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับการจัดวางสิ่งต่างๆ และความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ที่แบ่งแยกสิ่งหนึ่งออกจากสิ่งอื่นๆ โดยภูมิศาสตร์พยายามค้นหาเพื่อที่จะตีความให้กระจ่างถึงความสำคัญ ของสิ่งที่เหมือนและแตกต่างกันระหว่างพื้นที่ในรูปของสาเหตุและความเกี่ยว เนื่อง ปัจจุบันการศึกษาด้านภูมิศาสตร์ จะมุ่งเน้นความเข้าใจเกี่ยวกับรายละเอียดเบื้องต้นที่เกี่ยวกับพื้นที่ มากกว่าที่จะศึกษาลักษณะเฉพาะและสถานที่ต่าง ๆ ของโลกอย่างคร่าว ๆ อย่างที่เคยปฏิบัติขึ้นมาในระยะแรก ๆ ภูมิศาสตร์ได้เปลี่ยนแนวทางมาสู่การศึกษารายละเอียดของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ในพื้นที่นั้น ๆ โดยเฉพาะ ซึ่งจะใช้การศึกษานี้พิจารณาว่า "มีสิ่งใดบ้างที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดสิ่งนั้นสิ่งนี้ขึ้น และแต่ละสิ่งมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างไร" โดยถือรูปแบบและวิธีการดังกล่าวว่า เป็นการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์ ภายใต้สภาวะต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดลักษณะเฉพาะหรือเกิดปรากฏการณ์พิเศษในพื้นที่นั้น ๆ ขึ้น และถือว่าเป็น ปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์ ที่เกิดขึ้น ซึ่งมีหลายลักษณะ เช่น ปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะทางธรณีวิทยาของโลก ลักษณะทางสภาพภูมิอากาศ เป็นต้น โดยจะมีความเกี่ยวเนื่องและมีความสัมพันธ์ระหว่างกันในแต่ละลักษณะที่กล่าว ถึง

ความหมายของภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์ หมายถึง วิชาที่ศึกษาพื้นผิวโลกที่เกี่ยวกับภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ ผลิตผล และคน รวมทั้งการกระจายของสิ่งต่างๆ เหล่านี้ หรือคือวิชาที่ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างโลกกับมนุษย์ สิ่งแวดล้อมกับมนุษย์

2.เนื้อหาและโครงสร้างของวิชาภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์ระบบ (Systematic Geography) 2. ภูมิศาสตร์ภูมิภาค (Regional Geography) 3. เทคนิคต่างๆ (Techniques)

1 ภูมิศาสตร์ระบบ 1. ภูมิศาสตร์ระบบ (Systematic Geography) ประกอบ ด้วยเนื้อหาสาระทางด้าน สภาพแวดล้อมหรือกายภาพส่วนหนึ่ง และบทบาทของมนุษย์ในการดัดแปลงปรับปรุง สภาพแวดล้อมอีกส่วนหนึ่ง ทั้งสองระบบย่อยนี้ต่างมีผลกระทบต่อกันและกันและแสดง ออกมาให้เห็นทางด้านพื้นที่ ในระบบกายภาพ เนื้อหาจะประกอบด้วยส่วนย่อยต่างๆ ที่รวมกันเป็นระบบสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ เช่น โครงสร้างทางธรณี ลักษณะอากาศ ดิน พืชพรรณ ตลอดจนสัตว์ต่างๆ แต่ในขณะเดียวกันทั่วไปใน ระดับอุดมศึกษา เช่น วิชาธรณีสัณฐาน ภูมิศาสตร์เกี่ยวกับดิน อากาศวิทยา และอุทกภูมิศาสตร์ เป็นต้น ส่วนในระบบมนุษย์ ซึ่งในบางครั้งก็เรียกว่า ระบบสังคม หรือ ระบบวัฒนธรรม ก็ได้นั้น ประกอบด้วยปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ และความเป็นอยู่ ตลอดจนปัจจัยต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้นมาในพื้นที่หนึ่ง และกลายเป็นองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อมนุษย์เอง เนื้อหาสาระจึงประกอบด้วย เรื่องราวต่าง ๆ เกือบทุกอย่างที่ไม่ใช่สภาพแวดล้อมธรรมชาติ เช่น ประชากร ระบบเศรษฐกิจ การอุตสาหกรรม การปกครอง และการค้า เป็นต้น

2. ภูมิศาสตร์ภูมิภาค (Regional Geography) 2. ภูมิศาสตร์ภูมิภาค (Regional Geography) คือ การเข้าถึงระบบเทศสัมพันธ์ (Spatial interaction)ด้วย การแบ่งพื้นที่ออกเป็นส่วนๆ ในการอธิบายผิวโลกที่มีมนุษย์อาศัยนั้น นักภูมิศาสตร์ใช้วิธีการแบ่งพื้นที่ออกเป็นขนาดต่างๆ กันตามเกณฑ์และวัตถุประสงค์ เกณฑ์ในการกำหนดพื้นที่นั้นมีหลายอย่าง โดยทั่วไปต้องรวมเอาปัจจัยทางด้านกายภาพและวัฒนธรรมเข้าไว้ด้วยกัน นักภูมิศาสตร์นิยมแบ่งภูมิภาคออกตามระบบอากาศ เช่น ภูมิภาคเขตร้อนชื้น ภูมิภาคเขตอบอุ่น และภูมิภาคเขตทะเลทราย เป็นต้น หรือแบ่งภูมิภาคตามกลุ่มวัฒนธรรม เช่น กลุ่มละติน-อเมริกัน หรือกลุ่มอาหรับ เป็นต้น แต่ที่นิยมกันมากคือการแบ่งพื้นที่ศึกษาตามรูปแบบการปกครอง คือ ยึดเอาเนื้อที่ของประเทศต่างๆ เป็นเกณฑ์ เพราะสะดวกในเรื่องข้อมูลภายในพื้นที่นั้น ในปัจจุบันได้มีการแบ่งภูมิภาคออกตามบทบาทหน้าที่เด่นของพื้นที่นั้น เช่น ภูมิภาคของเมืองหรือเขตที่เมืองมีอิทธิพลต่อบริเวณรอบนอกตลอดจนเขตบริการ ต่าง ๆ อันจัดเป็นภูมิภาคขนาดเล็กแต่ก็มีประสิทธิภาพในการจัดพื้นที่ (Hartshorne, 1959)

3. เทคนิคต่างๆ (Techniques)