Artificial Neural Network โครงข่ายประสาทเทียม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐาจข้อมูล
Introduction to C Introduction to C.
การออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Conceptual
คอมพิวเตอร์ computer หมายถึงเครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทำงานคำนวณผลและเปรียบเทียบค่าตามชุดคำสั่งด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องและอัตโนมัติ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน.
ทักษะการคิดขั้นสูงของบลูม (Bloom’s Taxonomy)
โดย นายปิยะ บุษรากุล นายเอกรัฐ กันสุข อาจารย์ที่ปรึกษา
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
คอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบ e-Learning และ WBI
Ultrasonic sensor.
แบบฝึกหัด (drill and Practice)
Back-Propagation Learning (การเรียนรู้แบบแพร่กลับ) (ต่อ)
เรื่อง ระบบเทคโนโลยี.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทติวเตอร์ Tutorial.
Surachai Wachirahatthapong
น.ส.กฤติกา วงศาวณิช นายศุภชัย ตั้งบุญญะศิริ
AI for Computer Game Dr.Yodthong Rodkaew
ระบบกลไก.
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
การวัดประสิทธิภาพ.
การเลือกจำนวน Hidden Node ที่เหมาะสมกับโครงข่ายประสาทเทียม
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
ระบบการผลิต ( Production System )
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
การออกแบบและการวิเคราะห์อัลกอริทึม
8. ระบบผู้เชี่ยวชาญ.
เรื่อง ซอฟต์แวร์ตัวเก่ง
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
Artificial Intelligence (AI)
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ
เรื่องการออกแบบฐานข้อมูล
การวิเคราะห์เนื้อหา.
Theory in Knowledge Management (KM 701)
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
: Introduction to DATABASE (ฐานข้อมูลเบื้องต้น)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
บุคลากรคอมพิวเตอร์.
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหาดใหญ่)
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
บทบาทของ สารสนเทศ จัดทำโดย น. ส อมรรัตน์ เม่งบุตร 002.
การจัดการฐานข้อมูล.
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
แบบทดสอบหลังเรียนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
ระบบควบคุมอัตโนมัตในงานอุตสาหกรรม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ User Interface Design
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
วิชาคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย นายดำรงเกียรติ อาศา นายปรมินทร์ สิ้นเซ่ง
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
การกำหนดโครงการ (Project Scheduling: PERT / CPM)
ซอฟต์แวร์ (Softwarre)
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
การสื่อสาร ข้อมูล (Data Communication) การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่ง และผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร.
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
รูปแบ รูปแบบของคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ด. ญ. สุภิญญา จันต๊ะนารี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/6 เสนอ ครูสายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Artificial Neural Network โครงข่ายประสาทเทียม

ความมหัศจรรย์ของสมองมนุษย์ - สมองมนุษย์มีประสิทธิภาพและมั่นคงมาก ทุกวันมีเซลล์ประสาทในสมองตายโดยที่ไม่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพของสมองโดยรวม - ระบบสมองของมนุษย์ยืดหยุ่นมาก สามารถปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่โดยการเรียนรู้ (ผิดกับคอมพิวเตอร์ที่จะต้องโปรแกรมใหม่) สมองมนุษย์สามารถจัดการกับข้อมูลที่มีความไม่แน่นอน, มีสัญญาณรบกวน, และไม่สม่ำเสมอ ได้ดี สมองสามารถประมวลผลข้อมูลขนาดมหาศาล เช่นรูปภาพ ในลักษณะการ ประมวลผลแบบขนานได้ดี สมองมีขนาดเล็กและใช้พลังงานน้อย โครงสร้างของสมองมนุษย์ได้วิวัฒนาการมาเป็นเวลาหลายล้านปี และได้รับพิสูจน์จากธรรมชาติตราบจนกระทั่งทุกวันนี้

ความสามารถของสมองมนุษย์ vs คอมพิวเตอร์ ทำไมคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันที่มีความสามารถในการคำนวณสูงมากยังไม่สามารถเทียบกับความสามารถของสมองมนุษย์ในงานง่ายๆ (สำหรับมนุษย์) บางอย่าง เช่น การจำใบหน้า การฟังและการตีความหมาย การแปลภาษา ความสามารถของสมองมนุษย์ vs คอมพิวเตอร์ เซลล์ประสาทส่งสัญญาณ ได้ในอัตราสูงสุดประมาณ 1000 ครั้ง/วินาที ความเร็วของคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันขึ้นไปถึง 1700 MHz ความเร็ว การคำนวณ เลขคณิต ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ปัจจุบัน C > 1000 MFLOP สมองคน D การจดจำและแยก แยะรูปภาพ, เสียง สมองคน C คอมพิวเตอร์ D

วงจรข่ายนิวรอลเทียม Artificial Neural Networks เลียนแบบการทำงานของสมองมนุษย์ โดยใช้หน่วยประมวลผลง่ายๆ จำนวนมาก ต่อกันเป็นโครงสร้างขึ้นมา

ข่ายงานประสาทเทียม ข่ายงานประสาท (neural network หรือ neural net) เป็นการจำลองการทำงานบางส่วนของสมองมนุษย์ โมเดลทางคณิตศาสตร์ สำหรับประมวลผลสารสนเทศด้วยการคำนวณแบบคอนเนคชันนิสต์ (connectionist) เพื่อจำลองการทำงานของเครือขายประสาทในสมองมนุษย์

วัตถุประสงค์ สรางเครื่องมือซึ่งมีความสามารถในการเรียนรูการจดจำรูปแบบ(Pattern Recognition) และการอุปมานความรู ( Knowledge deduction) เชนเดียวกับความสามารถที่มีในสมองมนุษย์

หลักการของ Neural Network neurons จะประกอบด้วย input และ output เช่นเดียวกัน input แต่ละอันมี weight เป็นตัวกำหนดน้ำหนักของ input neuron แต่ละหน่วยจะมีค่า threshold เป็นตัวกำหนดน้ำหนักรวมของ input

ตัวอย่างโครงสร้างของวงจรข่ายนิวรอลเทียม Input nodes Hidden nodes Output nodes Connections Output ของแต่ละโหนด Xi = input จากโหนดอื่นๆ Wij = น้ำหนัก (weight) ของแต่ละแขน (connection)

การทำงาน เมื่อมี input เข้ามายัง network ก็เอา input มาคูณกับ weight ของแต่ละขา ผลที่ได้จาก input ทุก ๆ ขาของ neuron จะเอามารวมกันแล้วก็เอามาเทียบกับ threshold ที่กำหนดไว้

การเรียนรู้สำหรับ Neural Network Supervised Learning การเรียนแบบมีการสอน การเรียนแบบมีการตรวจคำตอบเพื่อให้วงจรข่ายปรับตัว มีชุดข้อมูลที่ใช้สอนเพื่อคอยดูว่าวงจรข่ายให้คำตอบถูกหรือไม่ ถ้าไม่ถูก วงจรข่ายก็จะปรับตัวเพื่อให้ได้คำตอบที่ดีขึ้น

Unsupervised Learning การเรียนแบบไม่มีการสอน การเรียนแบบไม่มีผู้แนะนำ วงจรข่ายจะจัดเรียงตัวเองตามลักษณะของข้อมูล วงจรข่ายจะสามารถจัดหมวดหมู่ของข้อมูลได้

Network Architecture Feedforward network ข้อมูลที่ประมวลผลในวงจรข่ายจะถูกส่งไปในทิศทางเดียวจาก Input nodes ส่งต่อมาเรื่อยๆจนถึง output nodes โดยไม่มีการย้อนกลับของข้อมูล หรือแม้แต่ Nodes ใน layer เดียวกันก็ไม่มีการเชื่อมต่อกัน Direction of data flow Input nodes Output nodes

Network Architecture Feedback network ข้อมูลที่ประมวลผลในวงจรข่าย จะมีการป้อนกลับเข้าไปยังวงจรข่ายหลายๆครั้ง จนกระทั่งได้คำตอบออกมา (บางทีเรียกว่า Recurrent network) Input nodes Output nodes

Neural Network Taxonomy Feedback Feedforward Gradient Descent Recurrent Backpropagation RABAM Brownian annealing Boltzmann learning ABAM, ART-2, BAM Adaptive Resonance ART-1, ART-2 Vector Quantization Self-organizing maps Competitive learning Counter-propagation Least mean square Backpropagation Reinforcement learning Supervised Unsupervised

การประยุกต์ใช้งาน Neural Network งานการจดจำรูปแบบที่มีความไม่แน่นอน เช่น ลายมือ ลายเซนต์ ตัวอักษร รูปหน้า งานการประมาณค่าฟังก์ชันหรือการประมาณความสัมพันธ์ (มี inputs และ outputs แต่ไม่ทราบว่า inputs กับ outputs มีความสัมพันธ์กันอย่างไร) งานที่สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ (วงจรข่ายนิวรอลสามารถปรับตัวเองได้) งานจัดหมวดหมู่และแยกแยะสิ่งของ งานทำนาย เช่นพยากรณ์อากาศ พยากรณ์หุ้น

การประยุกตใชขายงานระบบประสาทควบคุมกระบวนการทางเคมีโดยวิธีพยากรณแบบจำลอง (Model Predictive Control) การประยุกตใชขายงานระบบประสาทแบบแพรกระจายกลับในการทำนายพลังงานความรอนที่สะสม อยูในตัวอาคาร

สรุป การสร้างคอมพิวเตอร์ที่จำลองเอาวิธีการทำงานของสมองมนุษย์ input units ,output units โดยมีการกำหนดค่าน้ำหนักให้แก่เส้นทางการนำเข้าของ input แต่ละตัว การสร้างการเรียนรู้สำหรับ Neural Network เพื่อ มีสองวิธี คือ Supervised Learning และ Unsupervised Learning