บทที่ 9 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อดี 1. มีราคาถูก 2. ใช้งานง่ายมีความยืดหยุ่นในการใช้ งาน 3. ติดตั้งง่ายและมีน้ำหนักเบา ข้อเสีย 1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ ง่าย 2. ระยะทางจำกัด.
Advertisements

เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
สายคู่บิดเกลียว ข้อดี 1. ราคาถูก 2. มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน 3. ติดตั้งง่าย และมีน้ำหนักเบา ข้อเสีย 1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย 2. ระยะทางจำกัด.
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย นาย ปรัชญา สิทธิชัยวงค์ ชั้น 4/6 เลขที่ 23 น. ส. สัตตบงกช ศรีวิชัย ชั้น 4/6 เลขที่ 22 จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
จัดทำโดย ด. ญ. ศศิปภา มณีขัติย์ ชั้น 2/6 เลขที่ 4.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย ด. ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่ 8 ด. ญ. เกศกมล ใจปินตา ม.1/2 เลขที่ 10 เสนอ อาจารย์ อรอุมา.
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ด. ญ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Communication Software
ระบบเครือข่ายแลน จัดทำโดย ด. ช. สิทธิชัย นินประพันธ์ เลขที่ 17 ชันมัธยมศึกษาปีที่ 2/6 ครูผู้สอน อ. สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทรจังหวัด ลำพูน.
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
การสื่อสารข้อมูล.
สื่อหรือตัวกลางของระบบสื่อสารข้อมูล
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 3 ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ Computer Network System.
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
Material requirements planning (MRP) systems
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
บทที่ 3 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
IP-Addressing and Subneting
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
IP-Addressing and Subneting
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LANs) Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
ประเภทของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
เซอร์กิตสวิตชิงและแพ๊คเก็ตสวิตชิง (Circuit Switching and Packet Switching ) อ.ธนากร อุยพานิชย์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part2.
1.เครื่องทวนสัญญาณ (Repeater)
บทที่ 7 เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลท้องถิ่น (LAN)
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
.:ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part2.
Internet Technology and Security System
SMS News Distribute Service
สายคู่บิดเกลียวแบบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวนหรือไม่หุ้มฉนวน.
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร Part2
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 9 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความหมายของเครือข่าย ระบบที่มีการนำเอาคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่องขึ้นไปมาเชื่อมต่อเข้าไว้ด้วยกัน แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร รวมถึงการใช้ทรัพยากรบางอย่างของระบบร่วมกันได้ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

วัตถุประสงค์ของการใช้เครือข่าย ใช้ทรัพยากรร่วมกัน เช่น เครื่องพิมพ์ พื้นที่ในดิสก์ ฯลฯ ใช้ข้อมูลในไฟล์ร่วมกัน เช่น ยอดเงินในบัญชีธนาคาร เลขที่ตั๋วหนังหรือที่นั่งในเครื่องบิน ความง่ายในการดูแลระบบ ผู้ดูแลระบบสามารถตรวจสอบสถานะการทำงาน และทำกิจกรรมอื่นๆ ได้จากแหล่งเดียว ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ประเภทของเครือข่าย Local Area Network (LAN) การเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันในระยะจำกัด เช่น ในอาคารเดียวกัน หรือบริเวณอาคารใกล้เคียงที่สามารถลากสาย ถึงกันได้โดยตรง Wide Area Network (WAN) การเชื่อมต่อ LAN ในที่ต่างๆเข้าด้วยกันผ่านระบบสื่อสารอื่นๆ เช่น เครือข่ายโทรศัพท์สายเช่า (leased line) หรือสายข้อมูลที่เช่าพิเศษ เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ข้ามประเทศ รวมถึงระบบอินเตอร์เน็ตด้วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ข้อจำกัดของระบบเครือข่าย การเรียกใช้ข้อมูลทำได้ช้า ไม่ว่าจะเป็นการอ่านหรือเขียนข้อมูล มักจะช้ากว่าฮาร์ดดิสก์ในเครื่องของตนเอง เหตุจากข้อจำกัดทางสายของเครือข่ายที่สามารถรับส่งข้อมูลได้ช้ากว่าสายต่อภายในเครื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ข้อจำกัดของระบบเครือข่าย (ต่อ) ข้อมูลไม่สามารถใช้ได้ทันที หากมีคนอื่นใช้อยู่ อาจต้องรอก่อน เช่น คิวการใช้เครื่องพิมพ์ หรือในกรณีของไฟล์ข้อมูล หากมีคนอื่นกำลังแก้ไขข้อมูลอยู่ อาจต้องรออ่านข้อมูลภายหลัง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ข้อจำกัดของระบบเครือข่าย (ต่อ) ยากต่อการควบคุมและดูแล มีความสลับซับซ้อนและยากในการดูแลกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องเดียว มีโอกาสที่จะถูกผู้อื่นแอบเข้ามาใช้งานหรือล้วงเอาข้อมูลลับออกไป ตกเป็นเหยื่อของไวรัสคอมพิวเตอร์มากกว่าเครื่องที่ตั้งอยู่เฉยๆ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

องค์ประกอบของเครือข่าย อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ (Hardware) การ์ด LAN (Network Interface Card - NIC) Hub หรือตัวรวมสาย ซอฟต์แวร์ (Software) ตัวกลางนำข้อมูล (Media) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

การ์ด LAN (Network Interface Card - NIC) มีช่องสำหรับเสียบสายแบบใดแบบหนึ่งที่จะใช้ หรือในการ์ดเดียวจะมีช่องเสียบสายหลายแบบก็ได้ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Hub หรือตัวรวมสาย แต่ละตัวจะมีพอร์ตที่มีจำนวนต่างกัน เช่น 5, 8, 10, 16 และ 24 พอร์ตหรือมากกว่านั้น ทุก node จะส่งสัญญาณถึงกันได้หมด หาก node ไหนเสียก็ดึงออกได้ สะดวกในการโยกย้ายสาย สลับเครื่อง เพิ่มจำนวนเครื่อง ฯลฯ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซอฟต์แวร์ (Software) ตั้งแต่โปรแกรมที่เป็นไดรเวอร์ควบคุมการ์ด LAN โปรแกรมที่จัดการโปรโตคอล ในการติดต่อสื่อสาร เช่น IPX/SPX, TCP/IP โปรแกรมควบคุมระบบที่มี ความสามารถทำงานกับเครือข่าย เช่น Netware, Windows, Linux หรือ Unix รวมถึงโปรแกรมสำหรับจัดการสื่อสารที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตัวกลางนำข้อมูล (Media) มีประเด็นที่ควรพิจารณาอยู่หลายประการ คือ สายเคเบิลที่ใช้ ลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าที่รับส่งกัน ลักษณะการแบ่งกันใช้สาย (media access control) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ สายเคเบิลที่ใช้ สาย Coaxial (โคแอกเชี่ยล) สาย UTP (Unshielded Twisted-Pair) สาย STP (Shielded Twisted-Pair) สายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

สาย Coaxial (โคแอกเชี่ยล) สายเส้นเดี่ยวมีเปลือกเป็นสายโลหะถัก (shield) ป้องกันคลื่นรบกวน มี 2 แบบคือ แบบหนา (thick) และ แบบบาง (thin) ใช้ต่อเชื่อมระหว่างแต่ละเครื่องโดยตรง ปัจจุบันเริ่มใช้น้อยลงเพราะถูกทดแทนด้วยสายอื่นที่ราคาถูกกว่า ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

สาย UTP (Unshielded Twisted-Pair) สายขนาดเล็กคล้ายสายโทรศัพท์ มี 8 เส้นตีเกลียวเป็นคู่ๆ ไม่มีเปลือกที่เป็นโลหะถัก (shield) หุ้มเหมือนสาย coaxial ลักษณะการเดินสายต้องต่อจากเครื่องเข้าหาอุปกรณ์รวมสายหรือ hub นิยมแพร่หลาย เพราะราคาถูก ติดตั้งง่าย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

สาย STP (Shielded Twisted-Pair) สายคู่เล็กๆตีเกลียวไขว้กันแบบสาย UTP มีฉนวนหรือเปลือกหุ้มที่เป็นโลหะ เหมาะกับการเชื่อมต่อเป็นระยะทางไกลเกินกว่าที่จะใช้สาย UTP ได้ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

สายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic) ใช้กับการส่งสัญญาณด้วยแสง ส่งได้เป็นระยะทางไกลโดยไม่มีสัญญาณรบกวน มักใช้ในกรณีที่เป็นโครงข่ายหลักเชื่อมระหว่างเครือข่ายย่อยๆมากกว่า เช่นในเครือข่ายแบบ FDDI (Fiber Distributed Data Interface) ปัจจุบันมีใช้ในระบบ Ethernet ความเร็วสูง หรือ Gigabit Ethernet ด้วย ทำความเร็วได้เท่าๆกับสาย UTP คุณภาพสูง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าที่รับส่งกัน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ลักษณะการแบ่งกันใช้สาย (media access control) วิธีการที่จะแบ่งเวลาใช้สายให้ทั่วถึงกัน ไม่ต้องรอนานเกินไป เนื่องจากทุกเครื่องในระบบ LAN ใช้สายสัญญาณชุดเดียวกัน นิยมใช้ 2 แบบคือ CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access/Collision Detection) Token-passing ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access/Collision Detection) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Token-passing ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ มาตรฐานของระบบ LAN Ethernet Token-Ring FDDI (Fiber Distributed Data Interface) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Ethernet พัฒนาขึ้นโดย 3 บริษัทใหญ่คือ บริษัท Xerox, DEC และ Intel เป็นมาตรฐานของ IEEE ในกลุ่มที่มีรหัส 802.3 มีกฎเกณฑ์หรือโปรโตคอลแบบ CSMA/CD มาตรฐานของ Ethernet แยกแยะได้ด้วยรหัสดังตัวอย่าง เช่น ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความเร็ว ตัวบอกว่าระบบนั้นทำความเร็วได้เท่าไร เป็นค่าสูงสุดที่ระบบ LAN นั้นทำได้ ในกรณีที่ไม่มีอุปสรรคอื่นใดมาถ่วงให้ช้าลง ในทางปฏิบัติแล้วจะได้ความเร็วต่ำกว่ามาก ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ วิธีส่งสัญญาณ Base หมายถึง Baseband คือส่งเป็นสัญญาณแบบดิจิตอล 0 และ 1 หรือ แรงดันไฟฟ้า 0 และ 5 โวลต์โดยไม่มีการผสมสัญญาณนี้เข้ากับ สัญญาณความถี่สูงอื่นใด Broad หมายถึง Broadband คือมีการผสมสัญญาณข้อมูลที่จะส่งเข้ากับสัญญาณอนาล็อกหรือคลื่นพาที่มีความถี่สูง เพื่อให้ส่งได้ไกลและมีความเพี้ยน น้อยกว่าแบบแรก ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ สายที่ใช้ รหัส หมายถึง 5 ใช้สายแบบ Thick coaxial ลากไปได้ไกลไม่เกิน 500 เมตร 2 ใช้สายแบบ Thin coaxial ลากไปได้ไกลไม่เกิน 200 เมตร T ใช้สาย UTP แบบCAT 5 ต่อจากเครื่องเข้าหา hub ลากไปได้ไกลไม่เกิน 100 เมตร F ใช้สาย Fiber-optic ลากไปได้ไกลหลายร้อยเมตรขึ้นไป ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตัวอย่างมาตรฐานที่สำคัญ ระบบ LAN แบบ 10Base-2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตัวอย่างมาตรฐานที่สำคัญ ระบบ LAN แบบ 10Base-T ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

Fast Ethernet และ Gigabit Ethernet อาจจัดเป็นหลายกลุ่มด้วยกัน ดังนี้ 100Base-T Gigabit Ethernet 1000Base-T (สาย UTP) หรือ 1000Base-F (สาย Fiber optic) 10 Gigabit Ethernet ระดับความเร็ว 10,000 Mbps หรือ 10 Gigabit per second ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Token-Ring ต่อ LAN ในแบบ Ring และใช้การควบคุมแบบ token-passing สายที่ใช้เป็นเคเบิลแบบพิเศษ มี 2 คู่ ต่อเข้ากับอุปกรณ์รวมสายที่เรียกว่า MAU จุดอ่อนคือถ้าสายเส้นใดเส้นหนึ่งขาด Ring จะไม่ครบวงและทำงานไม่ได้ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

FDDI (Fiber Distributed Data Interface) อาศัยสาย fiber optic เชื่อมต่อรับส่งข้อมูลความเร็วสูงเท่ากับ Fast Ethernet หรือสิบเท่าของ Ethernet พื้นฐาน การรับส่งข้อมูลของ FDDI ใช้วิธี Token-passing เช่นเดียวกัน เหมาะที่จะใช้เป็นเครือข่ายหลักหรือ backbone ที่เชื่อมระบบ LAN หลายๆวงเข้าด้วยกัน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

เครือข่ายแบบไร้สาย (Wireless LAN) เครือข่ายที่อาศัยคลื่นวิทยุ (Radio Frequency) ในการรับส่งข้อมูล คุณสมบัติคือทะลุทะลวงสิ่งกีดขวางต่างๆได้ดี ไม่ว่าจะเป็นผนัง กำแพง เพดาน เหมาะกับใช้ในบ้านหรือที่ซึ่งไม่สะดวกในการเดินสาย สถานที่ติดตั้งต้องไม่ถูกรบกวนด้วยสัญญาณวิทยุมากนัก ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

การจัดสรรความถี่ของเครือข่ายแบบไร้สาย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

รู้จักกับ Wireless LAN ใช้คลื่นวิทยุรับส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ที่ติดตั้งในเครื่องกับสถานีฐานหรือจุดเข้าใช้ (Access Point) มาตรฐานที่นิยมใช้กันเรียกว่า IEEE 802.11 802.11b ทำความเร็วได้สูงสุด 11 Mbps ในรัศมีประมาณ 100 เมตร 802.11g ทำงานร่วมกับ 802.11b ได้ แต่เพิ่มความเร็วถึง 54 Mbps เหมาะกับการใช้งานที่ไม่หนัก เช่น รับส่งอีเมล์ ท่องเว็บ ฯลฯ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

การเชื่อมต่อแบบไร้สาย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความปลอดภัยของข้อมูลใน LAN แบบไร้สาย การเข้ารหัสข้อมูล แบบ WEP (Wired Equivalent Privacy) ไม่ค่อยปลอดภัย แบบ WPA (WiFi-Protected Access) ปลอดภัยกว่า แต่ใช้ได้กับอุปกรณ์ใหม่ๆเท่านั้น การกำหนดรหัสเครือข่าย เรียกว่า SSID (Service Set ID) คล้ายกับชื่อ workgroup ในเครือข่ายของ Windows อุปกรณ์ที่กำหนดค่า SSID ตรงกันเท่านั้นจึงจะสื่อสารกันได้ ควรเก็บค่าเหล่านี้เป็นความลับ ป้องกันไม่ให้บุคคลภายนอกเชื่อมต่อเข้าระบบได้ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

การทำงานของคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย มี 2 แบบใหญ่คือ Peer-to-Peer = แต่ละเครื่องยอมให้เครื่องอื่นในระบบเข้ามาใช้ข้อมูล หรืออุปกรณ์ของตนได้โดยเสมอภาคกัน Server-based หรือ Dedicated server = มีบางเครื่องทำหน้าที่เป็นผู้ให้บริการแก่เครื่องอื่น ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Peer-to-Peer ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

Server-based หรือ Dedicated server ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ข้อดีข้อเสียของ Server-based เร็ว ขีดความสามารถสูง มีฟังก์ชั่นให้ใช้มาก มีมาตรฐานที่ยอมรับทั่วไป ใช้กับเครือข่ายขนาดใหญ่ ระบบ security ดี ราคาสูง ติดตั้งยาก ต้องมีผู้ดูแลระบบ (system administrator) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ข้อดีข้อเสียของ Peer-to-Peer ราคาถูก ติดตั้งและใช้งานง่าย ไม่ต้องเสียเครื่องเพื่อทำเซิร์ฟเวอร์ ความเร็วไม่สูงเท่าแบบ server-based ขยายระบบได้จำกัด ไม่เหมาะกับเครือข่ายขนาดใหญ่ ระบบ security ไม่เข้มงวดมากนัก ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

การทำงานเป็นเซิร์ฟเวอร์ในระบบ LAN File server ผู้จัดการระบบไฟล์บนดิสก์ในเครื่องของตนเอง โดยรับคำสั่งจากเวิร์กสเตชั่นหรือ client กรณีที่มีการใช้งานหลายคนเพื่อแก้ไขข้อมูลพร้อมกัน ระบบปฏิบัติการจะมีการ lock การใช้ด้วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

การทำงานเป็นเซิร์ฟเวอร์ในระบบ LAN (ต่อ) Application server / Database server ทำงานซับซ้อนกว่า File server พบในการให้บริการโปรแกรมบางประเภท เช่น database server ฝั่ง client ส่งชื่อไฟล์และเงื่อนไขที่ต้องการมาให้เท่านั้น ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

การทำงานเป็นเซิร์ฟเวอร์ในระบบ LAN (ต่อ) Print server เรียกว่าระบบ SPOOL (Simultaneous Peripheral Operation On-Line) ช่วยให้ผู้ใช้สามารถสั่งพิมพ์งานได้พร้อมกันหลายคน ข้อมูลที่ถูกสั่งพิมพ์จะเก็บลงฮาร์ดดิสก์ไว้ก่อน เมื่อมีเวลาว่างพอจะทยอย เอาของแต่ละคนไปพิมพ์จริงๆ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

อุปกรณ์สำหรับเชื่อมต่อในเครือข่ายขนาดใหญ่ Repeater ทำหน้าที่ "ทวนสัญญาณ" (repeat) หรือช่วยขยายสัญญาณไฟฟ้า ที่ส่งบนสาย LAN ให้แรงขึ้น มีข้อจำกัดคือไม่สามารถกลั่นกรองข้อมูลที่ส่งผ่านได้ Hub ที่ใช้ในระบบ LAN จัดเป็นอุปกรณ์ที่ทำงานในลักษณะเดียวกับ Repeater ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

อุปกรณ์สำหรับเชื่อมต่อในเครือข่ายขนาดใหญ่ (ต่อ) Bridge ทำหน้าที่เป็น "สะพาน" เชื่อมระหว่าง 2 เครือข่ายเข้าด้วยกัน จัดแบ่งเครือข่ายออกเป็นส่วนย่อยๆหรือ segment ส่งข้อมูลต่อให้เท่าที่จำเป็น ถ้าข้อมูลนั้นมีแอดเดรสปลายทาง แต่ถ้าไม่ข้าม segment ก็ไม่ส่งต่อ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

อุปกรณ์สำหรับเชื่อมต่อในเครือข่ายขนาดใหญ่ (ต่อ) Switch ทำงานลักษณะเดียวกับ Bridge แต่แบ่งสาย 1 เส้นหรือ 1 พอร์ตของสวิทช์เป็น 1 เครือข่าย ข้อมูลใดๆที่ถูกส่งเข้ามาทางพอร์ตหนึ่ง จะถูกส่งต่อออกไปเฉพาะพอร์ตที่ต่อกับผู้รับเท่านั้น ไม่รบกวนการรับส่งข้อมูลในพอร์ตอื่นแต่อย่างใด ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

อุปกรณ์สำหรับเชื่อมต่อในเครือข่ายขนาดใหญ่ (ต่อ) Router ทำงานเสมือนเป็นเครื่องหรือ node หนึ่งใน LAN หน้าที่หลักของ Router คือหาเส้นทางที่ดีที่สุดในการส่งต่อข้อมูลไปเครือข่ายอื่น ฮาร์ดแวร์ของ Router กับ Bridge จะมีความซับซ้อนพอๆกัน หรือบางทีก็ใช้ตัวเดียวกัน แต่ซอฟต์แวร์ที่ใช้ควบคุมอาจซับซ้อนกว่ากันเท่านั้น ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ