ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
อ. ปิยวรรณ โถปาสอน
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การพูดภาษาอังกฤษ โดยใช้ชุดการสอนการ์ตูนสั้น สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางสาวยุวนาถ นุ้ยสุข ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC: ASEAN Economic Community) กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ข้อ 34 บัญญัติว่า ภาษาที่ใช้ในการทำงานของอาเซียน คือ ภาษาอังกฤษ “The working language of ASEAN shall be English” ทักษะที่สำคัญในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คือ ทักษะการพูด

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพชุดการสอนการ์ตูนสั้น เพื่อทักษะการพูด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพะโต๊ะวิทยา ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการพูดก่อนเรียนและหลังเรียนที่ใช้ชุดการสอนการ์ตูนสั้นของนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพะโต๊ะวิทยา เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพะโต๊ะวิทยา อำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร ที่มีต่อชุดการสอนการ์ตูนสั้นภาษาอังกฤษ

ความสำคัญของการวิจัย เป็นแนวทางในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพะโต๊ะวิทยา อำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร เป็นแนวทางในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การสนทนาภาษาอังกฤษ โดยใช้ชุดการสอนการ์ตูนสั้นอย่างเต็มศักยภาพ เป็นแนวทางสำหรับครูผู้สนใจสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ กับสาระการเรียนรู้อื่นๆ ตามความเหมาะสม

ขอบเขตของการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ตัวแปรที่ใช้ในการทดลอง เนื้อหาที่ใช้ในการทดลอง ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง

ขอบเขตของการวิจัย (ต่อ) ประชากรที่ใช้ในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนพะโต๊ะวิทยา อำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร จำนวน 91 คน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพะโต๊ะวิทยา อำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร ที่เรียนภาษาอังกฤษ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 1 ห้องเรียน รวมทั้งสิ้น 35 คน ที่ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling)

ขอบเขตของการวิจัย (ต่อ) ตัวแปรที่ใช้ในการทดลอง ตัวแปรอิสระ ชุดการสอนการ์ตูนสั้น ตัวแปรตาม ประสิทธิภาพของชุดการสอน การ์ตูนสั้น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาภาษาอังกฤษ ความพึงพอใจต่อชุดการสอน การ์ตูนสั้น

ขอบเขตของการวิจัย (ต่อ) เนื้อหาที่ใช้ในการทดลอง 1 Greeting and Introducing Yourself 2 Giving and Asking for Personal Information 3 Thanking and Apologizing 4 Asking for Time 5 Asking for Direction

ขอบเขตของการวิจัย (ต่อ) ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง ใช้เวลาในการทดลอง ชุดการสอนละ 3 ชั่วโมง ดังนั้นใช้เวลาในการจัดการเรียนการสอนทั้งหมด 15 ชั่วโมง

กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม ชุดการสอนการ์ตูนสั้น - ประสิทธิภาพของชุดการสอนการ์ตูนสั้น - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ - ความพึงพอใจต่อชุดการสอนการ์ตูนสั้น

สมมติฐานในการวิจัย ชุดการสอนการ์ตูนสั้นเพื่อพัฒนาทักษะการพูด กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพะโต๊ะวิทยา มีประสิทธิภาพ (80/80) ตามเกณฑ์ที่กำหนด ไว้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะการพูดภาษาอังกฤษ หลังเรียนด้วย ชุดการสอนการ์ตูนสั้นสูงกว่าก่อนเรียน ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดการสอนการ์ตูนสั้นอยู่ในระดับ “มาก”

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ความรู้เกี่ยวกับชุดการสอน ความรู้เกี่ยวกับการ์ตูน ความหมายของการพูดภาษาอังกฤษ ทฤษฏีเกี่ยวข้องกับความพึงพอใจ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

วิธีดำเนินการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ชุดการสอนการ์ตูนสั้น เพื่อพัฒนาทักษะการพูด แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูด โดยใช้ชุดการสอนการ์ตูนสั้น 5 หน่วย การเรียนรู้ ใช้เวลา 15 ชั่วโมง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน โดยมีลักษณะ เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกคำตอบ (Multiple Choice) 4 ตัวเลือก แบบประเมินคุณภาพของชุดการสอนการ์ตูนสั้น ที่เน้นทักษะการพูด สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพะโต๊ะวิทยา แบบสอบถามความพึงพอใจ ต่อชุดการสอนการ์ตูนสั้นที่เน้นทักษะการพูด สำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพะโต๊ะวิทยา อำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร มีลักษณะเป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ

วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) การสร้างและหาคุณภาพของเครื่องมือ ชุดการสอนการ์ตูนสั้น ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กำหนดวัตถุประสงค์ เพื่อกำหนดขอบข่ายของเนื้อหาในแต่ละหน่วยในการเรียน ชุดการสอนการ์ตูนสั้น ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร วิเคราะห์เนื้อหาโดยเรียง จากง่ายไปยาก สร้างชุดการสอนการ์ตูนสั้นเพื่อพัฒนาทักษะการพูด นำชุดการสอนการ์ตูนสั้นที่สร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว ไปหาคุณภาพเครื่องมือ ทดลองใช้กับนักเรียน ทดลองภาคสนาม

วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) การสร้างและหาคุณภาพของเครื่องมือ แผนการจัดการเรียนรู้ ศึกษาหลักสูตรภาษาอังกฤษพุทธศักราช 2551 ศึกษาข้อมูลการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สร้างแผนการเรียนรู้ ในรายวิชาภาษาอังกฤษ (การพูด) สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 5 หน่วยการเรียนรู้ เวลา 15 ชั่วโมง

วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน การสร้างและหาคุณภาพของเครื่องมือ ศึกษาและวิเคราะห์สาระ,มาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) รวมทั้งเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สร้างแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หาคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ (IOC) ,ค่าความยากง่าย P ,ค่าอำนาจ จำแนก R และค่าความเชื่อมั่น (KR 20 ของคูเดอร์ ริชาร์ดสัน) นำข้อสอบไปใช้ในการวิจัย

วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) แบบประเมินคุณภาพของชุดการสอนการ์ตูนสั้น การสร้างและหาคุณภาพของเครื่องมือ ศึกษาการสร้างแบบประเมินคุณภาพ ของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อชุดการสอน การ์ตูนสั้นจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สร้างแบบวัดแบบประเมินคุณภาพ (Rating Scale) 5 ระดับ นำแบบประเมินคุณภาพของชุดการสอนการ์ตูนสั้นไปประเมินโดย ผู้เชี่ยวชาญ

วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) การสร้างและหาคุณภาพของเครื่องมือ แบบสอบถามความพึงพอใจ ต่อชุดการสอนการ์ตูนสั้นที่เน้นทักษะการพูด ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ เป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วน ประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ

วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) การเก็บรวบรวมข้อมูล ทำหนังสือขอความร่วมมือในการวิจัยจากมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ถึงโรงเรียนพะโต๊ะวิทยา ที่ผู้วิจัยต้องการเก็บรวบรวมข้อมูล ทดสอบก่อนเรียน ผู้วิจัยดำเนินการสอนโดยใช้ชุดการสอนที่เน้นทักษะการพูด โดยใช้การ์ตูน ใช้เวลาทำการสอนทั้งหมด 15 ชั่วโมง รวม 5 ชุด ทดสอบหลังเรียน

วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าสถิติพื้นฐาน : ค่าเฉลี่ย (Mean), ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าสถิติที่ใช้ในการหาคุณภาพของเครื่องมือ: IOC, ค่าความยาก (p), การหาค่าอำนาจจำแนก (r), การหาค่าความเชื่อมั่น (KR 20) สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน : ประสิทธิภาพของแบบฝึก E1/E2 (80/80), การทดสอบที (t-test)

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล เป็น 3 ตอน ตามลำดับดังนี้ ผลการหาประสิทธิภาพของชุดการสอนการ์ตูนสั้น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพะโต๊ะวิทยา วิเคราะห์ศึกษาประสิทธิผลของชุดการสอนการ์ตูนสั้น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพะโต๊ะวิทยา ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการพูดภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจก่อนและหลังเรียนด้วยชุดการสอนการ์ตูนสั้น เพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ เพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ร.ร.พะโต๊ะวิทยา ตอนที่ 1 ตอนที่ 2 ตอนที่ 3

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) ผลการหาประสิทธิภาพของชุดการสอนการ์ตูนสั้น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพะโต๊ะวิทยา ตอนที่ 1 ชุดการสอนการ์ตูนสั้น จำนวนนักเรียน คะแนน ประสิทธิภาพ (ร้อยละ) E1/E2 (คน) คะแนนเต็ม คะแนนเฉลี่ย ( X ) คะแนนระหว่างเรียน 35 30 24.66 85.20 คะแนนทดสอบหลังเรียน 24.11 80.00 ประสิทธิภาพของชุดการสอนการ์ตูนสั้น 85.20/80.00 ชุดการสอนการ์ตูนสั้นมีประสิทธิภาพ 85.20 /80.00 ซึ่งมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยชุดการสอนการ์ตูนสั้น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตอนที่ 2 กลุ่มตัวอย่าง คะแนนเต็ม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน t Sig ก่อนเรียน หลังเรียน x S.D. 35 30 21.22 3.9 24.05 4.15 12.92 .000* *มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดการสอนการ์ตูนสั้น รายการประเมิน ( 𝒙 ) S.D. แปลผล ค่าเฉลี่ย ด้านเนื้อหา 4.17 .540 มาก ค่าเฉลี่ย ด้านสื่อ 4.26 .545 ค่าเฉลี่ย ด้านประโยชน์ที่ได้รับ 4.48 .575 ค่าเฉลี่ย 4.28 .550 ความพึงพอใจต่อชุดการสอนการ์ตูนสั้นของนักเรียนโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (4.28)

สรุปผลการวิจัย สมมติฐาน ข้อที่ 1 ชุดการสอนการ์ตูนสั้นเพื่อพัฒนาทักษะการพูด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพะโต๊ะวิทยา มีประสิทธิภาพ (80/80)ตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ผลการวิจัย พบว่า ชุดการสอนการ์ตูนสั้นเพื่อพัฒนาทักษะการพูด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพะโต๊ะวิทยา มีประสิทธิภาพ(85.20/80.00) ตามเกณฑ์ 80/80

หลังเรียน = 24.05 > ก่อนเรียน = 21.22 สรุปผลการวิจัย สมมติฐาน ข้อที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะการพูดภาษาอังกฤษ หลังเรียนด้วย ชุดการสอนการ์ตูนสั้นสูงกว่าก่อนเรียน ผลการวิจัย พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะการพูดภาษาอังกฤษ หลังเรียนด้วยชุดการสอนการ์ตูนสั้น สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 หลังเรียน = 24.05 > ก่อนเรียน = 21.22

ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดการสอนการ์ตูนสั้นอยู่ในระดับ “มาก” สรุปผลการวิจัย สมมติฐาน ข้อที่ 3 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดการสอนการ์ตูนสั้นอยู่ในระดับ “มาก” ผลการวิจัย พบว่า ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดการสอนการ์ตูนสั้นอยู่ในระดับ “มาก” ( 𝑋 =4.28)

อภิปรายผลการวิจัย ชุดการสอนการ์ตูนสั้นเพื่อพัฒนาทักษะการพูด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพะโต๊ะวิทยา มีประสิทธิภาพ มีประสิทธิภาพ(85.20/80.00) ตามเกณฑ์ 80/80 ที่กำหนดไว้ ชุดการสอนการ์ตูนสั้นที่พัฒนาขึ้นผู้วิจัยได้ยึดหลักทฤษฎีที่เกี่ยวข้องและสร้างเป็นขั้นตอนอย่างเป็นระบบ ประกอบด้วยการ์ตูนเป็นสิ่งที่เร้าความสนใจแก่เด็กได้ดี ทำให้ผู้เรียนเกิดความสนุกสนานและจดจำได้เร็ว

อภิปรายผลการวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะการพูดภาษาอังกฤษ หลังเรียนด้วยชุดการสอนการ์ตูนสั้น สูงกว่าก่อนเรียน ชุดการสอนการ์ตูนสั้นที่สร้างขึ้นผ่านการตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญ นำไปทดลองใช้ และผ่านการปรับปรุงจนมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด

อภิปรายผลการวิจัย ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดการสอนการ์ตูนสั้นอยู่ในระดับ “มาก” ชุดการสอนการ์ตูนสั้นที่สร้างขึ้นมีเนื้อหาที่น่าสนใจ เนื้อหามีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ผู้วิจัยได้กำหนดไว้

ข้อเสนอแนะ ครูต้องศึกษาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และคู่มือการใช้ชุดการสอนการ์ตูนสั้นให้เข้าใจ และปฏิบัติตามขั้นตอนของวิธีการสอนอย่างถูกต้อง ครูต้องแนะนำนักเรียนให้เข้าใจวิธีการเรียนด้วยชุดการสอนการ์ตูนสั้นทุก ครั้งเพื่อเป็นการทบทวนให้สามารถใช้งานชุดการสอนการ์ตูนสั้นได้อย่างมี ประสิทธิภาพและให้นักเรียน ทุกคนได้ปฏิบัติกิจกรรมที่ได้รับมอบหมายได้ ถูกต้องรวดเร็ว

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ ขอบคุณคะ นางสาวยุวนาถ นุ้ยสุข ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ