Nipah virus.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เด็กฉลาด สร้างได้ด้วย ไอโอดีน.
Advertisements

โรคที่สำคัญในสุกร.
โรคแท้งติดต่อ (Brucellosis)
โรคเฮโมรายิกเซฟติกซีเมีย (โรคคอบวม)
โรคปากและเท้าเปื่อย (Foot and Mouth Disease)
Avian Salmonellosis ระบาดวิทยา
โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคที่พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำนมทุกชนิดและติดต่อถึงคน ประเทศไทยมีคนป่วยตายเป็นอันดับต้นๆ 3 รายแรกของโลก โรคพิษสุนัขบ้า.
โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
องค์ประกอบพื้นฐานของฟาร์มเลี้ยงสัตว์
โรคจากอาหารที่มีสารพิษจากรา
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
โรคทูลารีเมีย (Tularemial)
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
โรคเอสแอลอี.
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
I. โรคผิวหนัง 1.1. เกิดจากปาราสิตภายนอก เช่น
โรคพยาธิในเลือด โรคพยาธิในเลือดส่วนใหญ่จะหมายความถึงเชื้อโปรโตซัวที่อยู่ในเลือด ไม่ได้รวมถึงหนอนพยาธิที่อยู่ในเส้นเลือด เช่นพยาธิใบไม้เลือด พยาธิในเลือดมักทำให้เกิดโรคที่มีความร้ายแรงกว่าพยาธิในทางเดินอาหารมาก.
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
โรคบิด/โรคคอคซิดิโอซิส (Coccidiosis)
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
Myasthenia Gravis.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอหิวาตกโรค
โรคคอตีบ (Diphtheria)
Tuberculosis วัณโรค.
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
โรคอุจจาระร่วง.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
การชักและหอบ.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
ความเสี่ยงอันตรายจาก
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น อาการ, อารมณ์ ( ปัญหาต่าง ๆ ) และพฤติกรรม เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ( ปัญหา ) ไม่ได้เป็น สาเหตุของการเกิดอารมณ์ และพฤติกรรมโดยตรง แต่เกิดจาก.
โรคเบาหวาน ภ.
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
เข้าสู่ การนำเสนอเรื่อง โรคเหน็บชา
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
ค้างคาว เชื้อไวรัส น.สพ.พิพล สุขสายไทยชะนะ นายสัตวแพทย์เชี่ยวชาญ
Tonsillits Pharynngitis
โรคภัยไข้เจ็บในสุนัข
หากมีอาการดังต่อไปนี้ โปรดแจ้งแพทย์ หรือพยาบาล !!
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
Q Fever. Holly Deyo, URL:
Scrub typhus.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Nipah virus

295 human cases ตาย 120 คน ฆ่าหมู 1.1 ล้านตัว ฆ่าหมามากกว่า 100 ตัว

Etiology กลุ่ม Paramyxovirus Hendra-like virus มีสายพันธุกรรมแตกต่างจากไวรัส Hendra ประมาณ 20% เชื้อไวรัสคล้าย Hendra (ที่ต่อไปจะเรียกว่า ไวรัส นิป๊ะ) นี้มีเป็นไวรัสที่มีรูปร่างไม่แน่นอน (pleomorphy) มีเปลือกหุ้ม (enveloped) และมีสารพันธุกรรมเป็นชนิด RNA

เชื้อนี้ไม่คงทนต่อสภาวะแวดล้อม สามารถฆ่าเชื้อโดยสบู่ ผงซักฟอกที่ใช้ตามบ้าน รวมถึงยาฆ่าเชื้อที่มีใช้ทั่วไปเช่น ไอโอดีน

นอกจากนี้ยังพบมีคนงานในโรงฆ่าสัตว์ ที่ประเทศสิงคโปร์ที่ทำการฆ่าและชำแหละสุกรที่มาจากประเทศมาเลเซีย เกิดป่วยและตาย

ผู้ป่วยจะแสดงอาการ ไข้สูง ง่วงซึม ปวดศีรษะรุนแรง ปวดกล้ามเนื้อ โคม่า ความดันโลหิตและอุณหภูมิร่างกายสูง ๆ ต่ำ ๆ และตาย ในช่วงแรกของการระบาด

อาการในสุกร - ลูกสุกรดูดนม : ไม่พบมีอาการ - สุกรอนุบาล (อายุมากกว่า 4 สัปดาห์) และสุกรขุน : ไข้สูง (>= 39.9 OC) กินอาหารลดลง 1-2 วัน และเบื่ออาหาร มีอาการทางระบบหายใจ คือ หายใจลำบาก อ้าปากหายใจ ไอแห้ง ๆ ตัวงอ หายใจไม่ออกและตายใน 2-3 วัน อาการทางระบบประสาท คือ ตัวสั่น เกร็ง ขาหลังอ่อนแรง อัตราการตายพบสูงใน 7-10 วัน แล้วลดลง

แม่สุกร : ไข้สูงเฉียบพลัน (>= 39 แม่สุกร : ไข้สูงเฉียบพลัน (>= 39.9 OC) หายใจแรงเสียงดัง อ้าปากหายใจ น้ำลายไหล มีฟองสิ่งคัดหลั่งสีขาว เหลือง หรือเป็นเลือด จากปากและจมูก อาจแท้งในช่วงท้องระยะต้น บางตัวตายเฉียบพลันใน 24 ชั่วโมงโดยไม่มีอาการให้เห็น อาการทางระบบประสาทได้แก่ กระแทกหัวกับผนังคอก กัดคอก ตัวเกร็ง ท้องอืด มีเลือดจากจมูกตอนตาย พ่อสุกร : อาการคล้ายคลึงกับแม่สุกร

ระยะฟักตัวของโรคในสุกร จากการนำเชื้อที่แยกได้จากคนไปทดสอบให้เกิดโรคในสุกร พบว่ามีระยะฟักตัวของโรคประมาณ 7-10 วัน ซึ่งเร็วกว่าในคน อัตราการตายในสุกรประมาณ 5% โดยอาการป่วยหยุดลงค่อนข้างเร็ว

การแพร่โรค จากสุกรไปสุกร:โดยการสัมผัสโดยตรงกับเลือด ปัสสาวะ อุจจาระ น้ำกาม (semen) หรือ อาจจากละอองที่เกิดจากการไอ จากสุกรไปยังสุนัขและแมว:จากการกินซากสุกรป่วยหรือกินวัสดุที่มีสิ่งคัดหลั่งจากสัตว์ป่วยปนเปื้อน

จากสุกรไปคน : จากการสัมผัสโดยตรงกับสุกรมีชีวิต และไม่มีหลักฐานว่ามีการติดต่อจากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่ง จากฟาร์มสุกรหนึ่งไปอีกฟาร์มหนึ่ง:จากการเคลื่อนย้ายสุกรป่วย หรือ จากการซื้อสุกรตามฟาร์ม

Australian fruit bats (Pteropus sp.)

การทำลายซาก หลังจากสุกรตายแล้วให้ทำการฝังลึก อย่างน้อย 7 เมตร และต้องมีดินกลบอย่างน้อย 2.5 เมตร เพื่อป้องกันการคุ้ยเขี่ยซากจากสัตว์

ข่ายงานเฝ้าระวังโรคสมองอักเสบนิป็ะของกรมปศุสัตว์