การระเบิด Explosions.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

อุปกรณ์โฟโต้ (Photo device)
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
บทที่ 5 ระบบการป้องกันไฟไหม้และระเบิด
บทที่ 8 Power Amplifiers
Bipolar Junction Transistor
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
Dust Explosion.
โลกร้อนกับการอนุรักษ์พลังงาน
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
งบดุลความร้อนของมหาสมุทร (Heat Budget of the Ocean)
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
บทที่ 9 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
สารไวต่อปฏิกิริยาเคมี
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
แผ่นดินไหว.
ปัจจัยทีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
คุณสมบัติของคอนกรีตที่แข็งตัวแล้ว (Hardened Concrete)
การใช้แรงงานหญิงและเด็ก
Ultrasonic sensor.
การจำแนกประเภทอุบัติเหตุของไอแอลโอ
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
สภาพท้องฟ้า หลักปฏิบัติในการตรวจอากาศ
ระบบอนุภาค.
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
ไต้หวัน 20 กันยายน 2542, M 7.6, Chelongpu Fault.
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ Hydro Power Plant.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4031 (พ. ศ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
เครื่องกรองทราย SAND FILTER.
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
การเคลื่อนที่และพลังงาน และพลังงานนิวเคลียร์
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
เทคนิคการสืบค้น Google
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
บทที่17 พลังงานจากนิวเคลียส 1. อะตอมและนิวเคลียส 2. Nuclear Fission
บทที่ 13 แสงและฟิสิกส์ควอนตัม ปรากฎการณ์ 3 อย่างที่ สนับสนุนแนวคิดของ
บทที่ 16 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 1. การค้นพบนิวเคลียส
โลกของเรา (โครงสร้างและส่วนประกอบ)
Globally Harmonized System : GHS
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
สรุปอุบัติเหตุทางถนนในช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2549
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
การตรวจอากาศ การตรวจอากาศ ผิวพื้น เครื่องตรวจความ กดอากาศ.
Major General Environmental Problems
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
“บทบาทที่ท้าทายของพยาบาล ในการจัดการวิกฤตอุทกภัย”
ดาวพลูโต (Pluto).
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูผู้สอน... นายธีระพล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ด้าน สิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในภูมิภาคต่างๆของ โลก ( ๑ )
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การระเบิด Explosions

Topics นิยาม (Definition) คำศัพท์ (Explosion Terminology) พื้นฐานของการระเบิด (Explosion Basics) ชนิดของการระเบิด (Explosive Types) คลื่นการทำลาย (Blast Damage) แบบจำลองการระเบิดของ TNT (TNT Explosion Model) TNT Equivalence Factors TNT Equivalence of Bombs การกระจายของวัตถุห่อหุ้มระเบิด (Fragmentation Devices) ระเบิดนิวเคลียร์ (Nuclear Explosions)

นิยามของการระเบิด ในบทนี้เราจะเรียนเกี่ยวกับสมการในการระเบิดซึ่งเป็นสิ่ง ที่สำคัญในการพัฒนาเกมให้ความสมจริง การระเบิด คือ การที่พลังงานจากปฏิกิริยาที่ถูก ปลดปล่อยออกมาทันทีทันใดในรูปแบบต่างๆได้แก่ แสง , ความร้อน, เสียง และคลื่นจากการระเบิด(Blast wave)

คำศัพท์ที่สำคัญ Autoignition temperature คือ อุณหภูมิที่วัตถุติดไฟ อัตโนมัติ ยกตัวอย่าง Kerosene(น้ำมันก๊าด) มีอุณหภูมิ ที่ 463 K Blast wave คือ คลื่นกระแทกที่เกิดจากการระเบิด เป็นพื้นที่ทีมีความดันสูงแผ่ขยายมาจากจุดระเบิดหรือ point of explosion Heat of explosion พลังงานที่ปล่อยออกมาจากการ ระเบิดหน่วยเป็น J/Kg Overpressure คือ ความแตกต่างของความดันที่เกิด จาก Blast wave เทียบกับความดันบรรยากาศ

พื้นฐานของการระเบิด (Explosion Basics) การระเบิดการการปล่อยพลังงานออกมาอย่างทันทีทันใด ซึ่งเกิดจากปฏิกิริยาทางเคมี ปฏิกิริยานิวเคลียร์ หรือ กระบวนการอื่นๆ การระเบิดเกิดในช่วงเวลาสั้นๆในหน่วยประมาณ มิลลิวินาที อากาศจะถูกขยายตัวไปทุกทิศทางออกจาก Point of explosion กลายเป็นคลื่นที่เรียกว่า Blast wave Blast wave ในบางครั้งมีความเร็วสูงกว่าความเสียง Blast wave จะมีการสูญเสียพลังงานอย่างรวดเร็วตาม ระยะทางที่เพิ่มขึ้นนับจาก Point of explosion ซึ่ง ความดันของ Blast wave เราจะเรียกว่า Overpressure เนื่องจาก Blast wave ขยายตัวอย่างรวดเร็ว ด้านหลัง ของ Blast wave จึงกลายเป็นพื้นที่ที่มีความดันต่ำที เรียกว่า “Sucks”

พื้นฐานของการระเบิด (Explosion Basics) เมื่อ Blast wave เคลื่อนออกไปสักพักก็จะมีคลื่นตี กลับไปยังจุด Sucks ที่มีขนาดใกล้เคียงกับ Blast wave Blast wave จะมีผลกระทำต่อวัตถุ โดยขึ้นอยู่กับพื้นที่ ผิวที่คลื่นกระทบ (กระทบมากทำลายเยอะ)

ชนิดของการระเบิด (Explosive Types) Gunpowder Nitroglycerine Dynamite TNT Ammonium Nitrate C4

Tunneling การขุดอุโมงค์ Mining การทำเหมือง detonation การระเบิด

คลื่นการทำลาย (Blast Damage) หน่วยของความดันเป็น N/m2 ตารางที่ 1 การทำลายสิ่งก่อสร้าง Serious structural โครงสร้างหลัก Collapse พังทลาย

คลื่นการทำลาย (Blast Damage) หน่วยของความดันเป็น N/m2 ตารางที่ 2 อาการบาดเจ็บ Lungs ปอด Possibly fatal อาจจะเป็นอันตรายถึงชีวิต Fatalities เสียชีวิต

แบบจำลองการระเบิดของ TNT (TNT Explosion Model) Scaled distance , Z d : distance from the point of explosion (m) m : mass of TNT (kg)

แบบจำลองการระเบิดของ TNT (TNT Explosion Model) Overpressure , Po Po : overpressure(N/m2) Pa : atmospheric pressure(N/m2) at sea level 101,325 N/m2

สรุปการคำนวณหาค่า Blast wave ของระเบิด TNT 1. หาค่า Scale distance(Z) จากสมการ 2.ใช้ Scale distance(Z) คำนวณค่า Overpressure(Po) 3. ใช้ตารางที่ 1 และ 2 เปรียบเทียบการทำลายจาก คลื่น Blast wave

Blast damage d Po แปรผกผันกับ Z

TNT Equivalence Factors

TNT Equivalence of Bombs

Example เกิดเหตุระเบิดขึ้นโดยที่มีผู้ได้รับบาดเจ็บ 1 คน ซึ่งอยู่ห่างจากจุดที่เกิดเหตุระเบิดประมาณ 8 เมตร โดยเจ้าหน้าที่พบว่าระเบิดที่พบนั้นเป็นชนิดเดียวกันกับระเบิด TNT ซึ่งมีขนาด 5 กิโลกรัม จงหาค่าของ overpressure (Po) เมื่อกำหนดให้ค่า Pa เท่ากับ 101,325 N/m2 1. 2.

การกระจายของวัตถุห่อหุ้มระเบิด(Fragmentation Devices) Mc คือมวลของระเบิด TNT (Kg) Me คือมวลของโลหะที่ห่อหุ้ม (Kg) K คือ ค่าคงที่ของลักษณะระเบิด

การกระจายของวัตถุห่อหุ้มระเบิด(Fragmentation Devices) ระเบิดมือ M61 มีปริมาณ 0.185 กิโลกรัมของสารระเบิด ซึ่งสามารถปล่อยพลังงานความร้อนได้ 4.40e+6 J/Kg มวลของโลหะที่เป็นลูกระเบิดมีปริมาณเป็น 0.210 กิโลกรัม ระเบิดเป็นลูกน้อยหน่า จงหาความเร็วของการ กระจายตัวของโลหะที่ห่อหุ้ม

ระเบิดนิวเคลียร์ (Nuclear Explosions) เป็นปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical reaction) มีลักษณะการระเบิดเป็นรูปเห็ด (Mushroom cloud) มีพลังงานที่ปล่อยออกมาประมาณ 1 พันล้านตันของ ระเบิด TNT ประมาณ 35% ของพลังงานที่ปล่อยออกมาจะกลายเป็น ความร้อน