โรคเบาหวาน Diabetes
อินซูลิน คือฮอร์โมนที่ทำหน้าที่นำน้ำตาลเข้าสู่เซลล์เพื่อเผาผลาญให้เกิดเป็นพลังงานในการทำกิจกรรมต่างๆ
อู่บีต้าเซลล์ บริษัท ตับอ่อน อินซูลิน ขนส่ง
บริษัทรับเหมากลูโคส สาขา ทางเข้า บริษัทรับเหมากลูโคส สาขา เซลล์ ในร่างกาย กลูโคส อินซูลิน ขนส่ง
เบาหวานคือ ภาวการณ์ที่อินซูลินไม่สมดุล หรือก็คือ มีน้อย ไม่พอกับความต้องการ หรือ มีไม่น้อยแต่ไม่สามารถออกฤทธิ์ต่อผนังเซลล์ได้เต็มที่
ที่ออกมาเลยดูเหมือนว่าอินซูลินน้อย คือพาน้ำตาลเข้าไปในเซลล์ไม่ได้ น้ำตาลในเลือดจึงสูงขึ้นผิดปกติ ซึ่งเป็นภาวะที่เป็นพิษกับเนื้อเยื่อทั่วไปในร่างกาย น้ำตาลออกมาคั่งอยู่ด้านนอกเซลล์ไม่ได้เอาไปใช้
ชนิดของโรคเบาหวาน มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิดนะจ๊ะ
เบาหวานชนิดที่ 1 (ชนิดที่พึ่งอินซูลิน) เกิดจากภูมิต้านทานของร่างกายทำลายบีต้าเซลล์ หรือเข้าใจง่ายๆว่า โรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง ทำให้ไม่สามารถสร้างอินซูลินได้ผู้ป่วยจึงต้องฉีดอินซูลิน เพื่อควบคุมน้ำตาลในเลือด โรคเบาหวานชนิดที่ 1 เกิดจากภูมิต้านทานของร่างกายทำลายเซลล์ ซึ่งสร้างอินซูลินในส่วนของตับอ่อนทำให้ร่างกายหยุดสร้างอินซูลิน หรือสร้างได้น้อยมาก ดังที่เรียกว่า โรคภูมิต้านทานตัวเอง หรือ ออโตอิมมูน(autoimmune) ดังนั้นผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 จึงจำเป็นต้องฉีดอินซูลิน เพื่อควบคุมน้ำตาลในเลือดระยะยาว และถ้าเป็นรุนแรง จะมีการคั่งของสารคีโตน(ketones) สารนี้จะเป็นพิษต่อระบบประสาททำให้หมดสติถึงตายได้ โดยปกติบีต้าเซลล์ในตับอ่อนทำหน้าที่สร้างอินซูลิน ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่ทำให้น้ำตาลเข้าเซลล์ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่หนึ่งจะมีการทำลายบีต้าเซลล์ทำให้ไม่สามารถสร้างอินซูลิน น้ำตาลจึงอยู่ในกระแสเลือดจึงเกิดเบาหวาน สาเหตุที่สำคัญคือระบบภูมิคุ้มกัน [immune system] มีการทำลายบีต้าเซลล์ อินซูลิน ขนส่ง
เบาหวานชนิดที่2(ชนิดที่ไม่พึ่งอินซูลิน) เป็นผลจากพยาธิ ปัจจัยที่สำคัญ 2 ประการ ร่วมกัน ได้แก่ ภาวะดื้ออินสุลิน และภาวะขาดอินสุลินสัมพัทธ์ ซึ่งหมายถึง ความบกพร่องในการหลั่งอินซูลินเพิ่มขึ้น เพื่อชดเชยภาวะดื้ออินซูลิน โดยที่ผู้ป่วยอาจมีภาวะใดภาวะหนึ่งเด่นกว่าอีกภาวะหนึ่งก็ได้ 1. มีการหลั่งอินซูลินน้อยกว่าปกติ ในภาวะที่ร่างกายหลั่งอินซูลินน้อยกว่าปกติทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูง มีอาการแสดงของโรคเบาหวาน แต่มักไม่ทำให้เกิดภาวะคีโคอะซิโดซีส ทั้งนี้เพราะร่างกายยังพอมีอินซูลิน อยู่ในระดับที่สามารถนำกลูโคสเข้าเซลล์ได้บ้าง จึงไม่สลายไขมันและโปรตีนมาใช้เป็นพลังงาน ร่างกายจึงไม่เกิดภาวะกรดคั่งแต่เกิดภาวะวิกฤติจากระดับน้ำตาลในเลือดสูงมากแทน (Hyperglycemic Hyperosmolor Non-Ketotic Coma : HHNC) 2. เกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน (Insulin Resistance) คือ ภาวะที่รีเซ็พเตอร์ต่ออินซูลินที่เนื้อเยื่อมีจำนวนลดลงทำให้มีการใช้น้ำตาลทางกล้ามเนื้อลดลงหรืออินซูลินจับกับรีเซ็พเตอร์ได้ แต่มีความผิดปกติในการทำปฏิกิริยาในเซลล์ทำให้เนื้อเยื่อไม่สามารถนำกลูโคสไปใช้ได้ นอกจากนี้ยังมีการผลิตน้ำตาลจากตับเพิ่มขึ้น การขาดอินซูลิน ทำให้กลูโคสจากอาหารไม่สามารถเก็บสะสมที่ตับในรูปไกลโคเจนได้ ระดับน้ำตาลในเลือดสูง เมื่อระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินความสามารถของไต (renal threshold) ที่จะดูดซึมกลูโคสได้หมด คือ 180 มก./ดล. ทำให้ตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวะได้ เมื่อกลูโคสขับออกทางปัสสาวะมาก ทำให้เกิดภาวะออสโมติคไดยูรีซีส (osmotic diuresis) ร่างกายจึงเสียน้ำและ อีเล็กโตรลัยต์ออกมาทางปัสสาวะมาก (polyuria) และเมื่อเสียน้ำมากทำให้ผู้ป่วยรู้สึกกระหายน้ำเพิ่มขึ้น (polydipsia) นอกจากนี้การขาดอินซูลินทำให้ตับเกิดกระบวนการ กลูโคจีโนไลซีสและกลูโคนีโอจีนีซีส ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูง เกิดการสลายโปรตีนที่ตับและกล้ามเนื้อ และเกิดการสลายไขมันเพื่อนำมาใช้เป็นพลังงาน การสลายทำให้เกิดสารคีโตน เมื่อมีมากทำให้ร่างกายมีภาวะเป็นกรด และเกิดภาวะวิกฤติของโรคเบาหวานที่เรียกว่า คีโตอะซิโดซีส (Kotoacidosis)
บางคนเริ่มมีภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้นมาอีก นอกจากนี้เบาหวานก็ยังมีสาเหตุมาจากการใช้ยาด้วย เช่น สเตรอยด์ ยาขับปัสสาวะ ยาเม็ดคุมกำเนิด โรคเบาหวานชนิดที่ 2 เป็น เบาหวาน ที่พบเห็นกันเป็นส่วนใหญ่ สาเหตุที่แท้จริงนั้นยังไม่ทราบชัดเจน แต่มีส่วนเกี่ยวกับ พันธุกรรม นอกจากนี้ ยังมีความสัมพันธ์กับภาวะ น้ำหนักตัวมาก และขาดการออกกำลังกาย มีลูกดก อีกทั้งวัยที่เพิ่มขึ้น เซลล์ของผู้ป่วยยังคงมีการสร้างอินซูลินแต่ทำงานไม่เป็นปกติ เนื่องจากมีภาวะดื้อต่ออินซูลิน ทำให้เซลล์ที่สร้างอินซูลินค่อยๆถูกทำลายไป บางคนเริ่มมีภาวะแทรกซ้อนโดยไม่รู้ตัว โดยอาจจะใช้ยาในการรับประทาน และบางรายต้องใช้อินซูลินชนิดฉีด เพื่อควบคุมน้ำตาลในเลือด นอกจากนี้ เบาหวาน ยังมีสาเหตุมาจากการใช้ยาด้วย เช่น สเตอรอยด์ ยาขับปัสสาวะ ยาเม็ดคุมกำเนิด
ลักษณะ โรคเบาหวานชนิดที่ 1
ผู้ป่วยมักมีอายุน้อย รูปร่างผอม มีอาการหอบลึก คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ซึมลงได้ ผู้ป่วยมัก มีอาการหอบลึก คลื่นไส้อาเจียนและปวดท้อง ซึมลงได้
ลักษณะ โรคเบาหวานชนิดที่ 2
เป็นชนิดที่นิยมเป็นกันมาก พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย มักพบบ่อยในผู้ที่มีอายุ40ปีขึ้นไป
มักอ้วน ถ้าไม่อ้วนก็จะมีไขมันที่ท้องมาก อาการป่วยจะเป็นไปอย่างช้าๆจนแทบสังเกตไม่ได้
การป้องกันการเป็นโรคเบาหวาน ควบคุมน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ ควบคุมโภชนาการรวมทั้งออกกำลังกายอยู่สม่ำเสมอด้วย ตรวจเช็คระดับน้ำตาลในเลือดอยู่สม่ำเสมอ ปรึกษาแพทย์ก่อนใช้ยาทุกครั้ง
อาหารที่ควรเลี่ยง
น้ำตาล + น้ำผึ้ง + น้ำตาลจากผลไม้ ขนมหวาน + ขนมเชื่อม ผลไม้กวน เครื่องดื่มที่มีน้ำตาล ผลไม้ที่มีรสหวานจัด ของขบเคี้ยว+อาหารชุบแป้งทอด
ตัวอย่างอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน
มื้อ เช้า ที่ สำ คัญ
สำหรับผู้ป่วยควรดื่มวันละ 1-2 แก้ว นมพร่องมันเนย สำหรับผู้ป่วยควรดื่มวันละ 1-2 แก้ว นม – ควรดื่มวันละ1-2แก้วเพื่อสุขภาพสำหรับผุ้ป่วย -เหมาะสำหรับคนที่ต้องการลดน้ำหนักหรือคนที่มีไขมันในเลือดสูง ควรดื่มควบคู่กับการออกกำลังกายไปด้วย ดื่มแล้วก็ต้องออกกำลังกายด้วยนะ
แอปเปิ้ล ลดคลอเรสเตอรอล♥ ลดความดัน♥ ควบคุมปริมาณน้ำตาลในเลือด♥ ลดคลอเลสเตอรอล ลดความดัน ควบคุมปริมาณน้ำตาลในเลือด กระตุ้นการทำงานของสารต้านอนุมูลอิสระ กระตุ้นการทำงานของสารต้านอนุมูลอิสระ♥
ข้าวต้มไก่ ข้าวหอมมะลิ เนื้อไก่ ช่วยลดระดับของ แอล ดี แอล (LDL) คอเลสเตอรอล ซึ่งก่อให้เกิดโทษต่อร่างกาย ช่วยเพิ่มระดับของ เอช ดี แอล (HDL) คอเลสเตอรอล ซึ่งมีประโยชน์ต่อร่างกาย ช่วยลดระดับไขมันไตรกรีเซอไรด์ (Triglyceride) ในเส้นเลือด ลดไขมันที่สะสมอยู่ในส่วนต่างๆ ของร่างกายทำให้ระบบเผาผลาญทำงานได้ดีขึ้น ทำให้ไม่อ้วน มีผลให้ความดันโลหิตลดลงและช่วยลดระดับน้ำตาลในเส้นเลือดยับยั้งโรคเบาหวานได้ผลดี
ลดระดับน้ำตาลในเส้นเลือด☺ ข้าวหอมมะลิ ลดLDLไขมันเลว☺ เพิ่มHDLไขมันดี ลดไตรกลีเซอไรด์ในเส้นเลือด☺ ช่วยลดระดับของ แอล ดี แอล (LDL) คอเลสเตอรอล ซึ่งก่อให้เกิดโทษต่อร่างกาย ช่วยเพิ่มระดับของ เอช ดี แอล (HDL) คอเลสเตอรอล ซึ่งมีประโยชน์ต่อร่างกาย ช่วยลดระดับไขมันไตรกรีเซอไรด์ (Triglyceride) ในเส้นเลือด ลดไขมันที่สะสมอยู่ในส่วนต่างๆ ของร่างกายทำให้ระบบเผาผลาญทำงานได้ดีขึ้น ทำให้ไม่อ้วน มีผลให้ความดันโลหิตลดลงและช่วยลดระดับน้ำตาลในเส้นเลือดยับยั้งโรคเบาหวานได้ผลดี ลดระดับน้ำตาลในเส้นเลือด☺
เนื้อไก่ ย่อยง่าย กล้ามเนื้อไก่มีขนาดสั้น มีโปรตีน และ กรดอะมิโน สูงกว่าเนื้อสัตว์อื่นๆ กล้ามเนื้อไก่มีขนาดสั้น จึงทำให้ย่อยง่าย เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการลดน้ำหนัก ผู้ป่วย ผู้พักฟื้น ผู้สูงอายุ ตลอดจนเด็ก ๆ และหนุ่มสาว สารอาหารในเนื้อไก่มีโปรตีนและกรดอะมิโนสูงกว่า เนื้อสัตว์อื่น ๆ
มื้อกลางวันของจำเป็น
ช่วยเร่งการเผาผลาญน้ำตาลและไขมัน กล้วย มีวิตามินบี1และบี2 ช่วยเร่งการเผาผลาญน้ำตาลและไขมัน 1. วิตามินบี 1 และบี 2 ซึ่งจะช่วยเร่งการเผาผลาญน้ำตาลและไขมัน ป้องกันอาการตัวบวม และฟื้นฟูร่างกายจากความเหนื่อยล้า 2. เกลือแร่ อาทิเช่น โปรเตสเซียม ที่ช่วยในการขับโซเดียมออกทางปัสสาวะ แมกนีเซียม ซึ่งช่วยควบคุมความดันเลือด และการทำงานของแคลเซียม สำหรับสายพันธุ์ของกล้วยที่แนะนำให้รับประทานเพื่อลดน้ำหนักนั้น ควรเป็นกล้วยหอม เพราะมีน้ำตาลเป็นส่วนประกอบอยู่น้อย เมื่อเทียบกับกล้วยในสายพันธุ์อื่นๆ แต่ก็สามารถใช้กล้วยประเภทอื่นๆมาทดแทนได้ ไม่ว่าจะเป็นกล้วยน้ำว้า หรือกล้วยไข่ เป็นต้น ซึ่งในวันนี้จะขอแนะนำสูตรการลดน้ำหนักด้วยกล้วยหอมในมื้อเช้า ซึ่งเป็นสูตรที่ง่าย อร่อย และราคาไม่แพง มาฝากคุณสาวๆ กัน.... ป้องกันอาการตัวบวม
***ในเมนูข้าวผัดปู** มะนาว ลดน้ำตาลในเลือด ระงับอาการกระหายน้ำ ในผู้ป่วยเบาหวาน ลดน้ำตาลในเลือด ระงับความกระหายน้ำในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
มื้อค่ำหรรษา
กะเพรา จากเมนูต้มจืดกะเพรา ทำให้เซลล์ในตับอ่อนผลิตอินซูลินได้ดีขึ้น มีสรรพคุณขับไขมัน ไขมัน
ปลาทู จากเมนูปลาทูทอด มีโอเมก้า3 ลดคลอเรสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ โอเมก้า 3 เป็นไขมันประเภทไม่อิ่มตัว มีประโยชน์ในเรื่องลดอัตราการตายจากโรคหัวใจและโรคหลอดเลือดตีบ และยังลดคอเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์ ตลอดถึงยังลดความหนืดของเลือด ลดการอักเสบ รวมทั้งสร้างความสมดุลและปรับระดับเลือดในร่างกายให้อยู่ในภาวะปกติได้ ลดความหนืดของเลือด
ช่วยลดระดับกลูโคสและอินซูลินในเลือด พริก มาจากเมนูน้ำพริก มีสารแคพไซซิน และ ดีไฮโดรแคพซิน ช่วยลดระดับกลูโคสและอินซูลินในเลือด แคพไซซินและดีไฮโดรแคพไซซิน มีสรรพคุณช่วยลดระดับกลูโคส และอินซูลินในเลือด ขจัดการก่อตัวของตะกอนไขมันจับผนังหลอดเลือด และป้องกันเลือดจับตัวเป็นก้อน
จบจ้า