เข้าสู่ การนำเสนอเรื่อง โรคเหน็บชา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เพราะความเป็นห่วง.
Advertisements

เด็กฉลาด สร้างได้ด้วย ไอโอดีน.
กินอย่างถูกหลัก ลดน้ำหนักอย่างถูกวิธี
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
อาหารหลัก 5 หมู่.
จบการทำงาน <<< <<< สมุนไพรไทย Click Please
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
ให้พบแพทย์ทันที กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง ได้แก่เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี หญิงมีครรภ์ ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่นโรคปอด หอบหืด.
โรคสมาธิสั้น.
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
เอกสารประกอบการเรียน วิชา พ.21102
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
การปฏิสนธิ-ท้อง9เดือน
หลักปฏิบัติ ๔ ประการ ในการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
Thyroid.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
อ่านบ้างนะ มีประโยชน์
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
โรคอุจจาระร่วง.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
ส่งเสริมสัญจร.
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
9 วิธีแก้โรคนอนไม่หลับ นางสาว ศิรินภา เบิกบาน เอก อนามัยสิ่งแวดล้อม
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โคเลสเตอรอล โคเลสเตอรอล (Cholesterol) เป็นอนุพันธ์ของ ไขมัน ที่อยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ และสัตว์ เป็นสิ่งจำเป็นที่ช่วยให้ร่างกายทำงานได้
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
ว่านหางจระเข้ ฟ้าทะลายโจร เสลดพังพอน
อาหารเป็นพิษ จังหวัดเชียงใหม่
Tonsillits Pharynngitis
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
Nipah virus.
โรคภัยไข้เจ็บในสุนัข
หากมีอาการดังต่อไปนี้ โปรดแจ้งแพทย์ หรือพยาบาล !!
นมแม่สร้างลูก แข็งแรงและฉลาด
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
เรื่อง ประโยชน์ต่อสุขภาพ ของใบบัวบก
กินข้าวกล้องดีอย่างไร ? ข้าวกล้องบางคนเรียกกันติดปากว่า ข้าวซ้อมมือหรือ ข้าวแดง เนื่องจากในสมัยโบราณ ชาวบ้านใช้วิธีตำข้าวกินกันเอง จึงเรียกว่า ข้าวซ้อมมือ.
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เข้าสู่ การนำเสนอเรื่อง โรคเหน็บชา ยินดีต้อนรับ เข้าสู่ การนำเสนอเรื่อง โรคเหน็บชา จัดทำโดย 1). ด.ญ. วสุนันท์ เพชรพราวแสง ชั้นม. 1/4 เลขที่ 38 2). ด.ช. สิรวิชญ์ สิงคาลวณิช ชั้นม. 1/4 เลขที่ 46 3). ด.ญ. พิมพ์มาดา โชคธัญญารัตน์ ชั้นม. 1/4 เลขที่ 49

โรคเหน็บชา โรคเหน็บชาเกิดจากการกินอาหารที่ให้วิตามินบี๑ ไม่พอ คนไทยส่วนใหญ่กินข้าวที่ขัดสีเป็นอาหารหลัก ข้าวที่ขัดสีมีวิตามินบี๑อยู่น้อย มิหนำซ้ำการซาวข้าว และหุงข้าวแบบเช็ดน้ำ จะทำให้สูญเสียวิตามินบี๑ ไปอีกส่วนอาหารที่ให้วิตามินบี๑ มาก คือ เนื้อสัตว์และถั่วเมล็ดแห้ง  ก็กินน้อย ผู้ที่ต้องการวิตามินบี๑ เด็กที่อยู่ในวัยเจริญเติบโต  หญิงมีครรภ์ หญิงให้นมลูก ผู้ใช้กำลังงานมาก เช่น นักกีฬา กรรมกร ชาวนา ภาวะที่เกิดโรคติดเชื้อ ภาวะที่มีไข้สูง โรคต่อมไทรอยด์เป็นพิษ จะเสี่ยงต่อการเป็นโรคเหน็บชาได้ง่าย  นอกจากนี้ผู้ดื่มเหล้าเป็นประจำจะขาดวิตามินบี๑ ได้ง่าย

อาการ ผู้ป่วยจะมีอาการเข่าอ่อน ซึมเศร้า เบื่ออาหาร กระสับกระส่าย ความจำเสื่อม หัวใจมีการเต้นเร็ว ใจสั่น และอาจมีผลทำให้หัวใจโตได้ นอกจากนี้ ก็อาจพบว่ามีท้องและแขน ขา บวมได้ หากทิ้งไว้ ผู้ป่วยอาจเสียชีวิตจากหัวใจวาย ถ้าในเด็กที่กินนมแม่ และแม่ขาดวิตามินบี๑ เด็กอาจมีอาการเด่นทางหัวใจ คือ หอบ เหนื่อย หัวใจเต้นเร็วและเขียว ถ้าไม่ได้รับการรักษาจะเสียชีวิตได้ภายใน ๒-๓ ชั่วโมง เด็กอาจมีอาการทางระบบประสาท คือ เสียงแหบ เวลาร้องไม่มีเสียง อาจมีหนังตาบนตกกลอกลูกตาไปมา มือเท้าเคลื่อนไหวโดยไม่ตั้งใจ

การรักษา 1. กินอาหารที่มีวิตามินบี๑ สูง เช่น เนื้อหมู ถั่วเหลือง 1. กินอาหารที่มีวิตามินบี๑ สูง  เช่น เนื้อหมู ถั่วเหลือง 2. ที่ดื่มน้ำชาหรือเคี้ยวใบเมี่ยงเป็นประจำ  ถ้าเลิกได้เป็นการดีที่สุดถ้าทำไม่ได้ก็ดื่มน้ำชาหรือเคี้ยวใบเมี่ยงให้น้อยลง 3.ระหว่างมื้ออาหาร ผู้ที่ชอบกินปลาร้าดิบ ควรเปลี่ยนเป็นต้มให้สุกเสียก่อน 4. การหุงต้มทุกชนิดควรใช้น้ำแต่พอประมาณ เช่น ควรหุงข้าวแบบไม่เช็ดน้ำส่งเสริมให้กินข้าวซ้อมมือ และรัฐควรวางมาตรฐานการสีข้าวของโรงสีต่างๆ เพื่อสงวนคุณค่าของวิตามินบี๑ ไว้