การประเมินโรคซึมเศร้า และการฆ่าตัวตาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประภัสสร คำยวง นักวิชาการสาธารณสุข
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
สื่อการสอนโครงงานอาชีพ ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย จัดทำโดย ม
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ความน่าจะเป็น (Probability)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
Thesis รุ่น 1.
การศึกษารายกรณี.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
วิธีการทางวิทยาการระบาด
การสอบถาม อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การศึกษาความพึงพอใจของ
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
แบบประเมินจุดแข็งและจุดอ่อน
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
คุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
คู่มือการดูแลทางจิตเวช เพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
การเขียนรายงานการวิจัย
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
*ppt.2 ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า การอบรมการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า สำหรับผู้ปฏิบัติในพื้นที่ สนับสนุนโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
Cognitive of Depressive Disorder
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
หลักการเขียนโครงการ.
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินโรคซึมเศร้า และการฆ่าตัวตาย จินตนา ลี้จงเพิ่มพูน และคณะ

ประเด็นสำคัญในการประเมิน เป้าหมายในการประเมินคืออะไร จะประเมินอะไร ค่าพารามิเตอร์ของเครื่องประเมินอย่างไร ใครเป็นผู้ประเมิน

เป้าหมายในการประเมิน เพื่อคัดกรอง การคัดกรองจะช่วยในการแยกผู้ที่มีแนวโน้ม จะป่วย เพื่อนำเข้าสู่กระบวนการช่วยเหลือ ดังนั้น แบบประเมินเพื่อการคัดกรอง ควรต้องพิจารณา - Criterion validity - Cut off score - Sensitivity - Specificity

เป้าหมายในการประเมิน เพื่อวินิจฉัยและจำแนก เครื่องมือที่สามารถวินิจฉัยและจำแนกโรคซึมเศร้านั้น ส่วนใหญ่จะเป็นเครื่องมือที่ถูกพัฒนาขึ้น เพื่อนำมาใช้ทดแทน Clinical diagnostic interviews ซึ่งเครื่องมือนี้จำเป็นจะต้องมีความแม่นยำ (Accuracy) ความเที่ยง (Reliability) และความตรง (Validity) เนื่องจากผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยและแยกโรคแล้วจะต้องได้รับการบำบัดรักษาและติดตามต่อเนื่อง

เป้าหมายในการประเมิน เพื่อบรรยายอาการและประเมินอาการ มีเครื่องมือหรือแบบประเมินบางชนิดที่สามารถจำแนกอาการ ความรุนแรง และวัดความถี่ของอาการ เพื่อจะให้ข้อมูลที่เฉพาะเจาะจงสำหรับบุคคลในกลุ่มที่ได้รับการวินิจฉัยเฉพาะ และความรุนแรงของอาการซึมเศร้า ซึ่งพบบ่อยว่า มักจะเป็นเป้าหมายของการประเมินทั้งทางคลินิกและการวิจัยโดยเฉพาะประเมินความสำเร็จในการรักษา ด้วยเป้าหมายเช่นนี้ เครื่องมือที่จะนำมาใช้ความพิจารณาในเรื่อง ความเที่ยง (Reliability) ของเครื่องมือเป็นสำคัญ

เป้าหมายในการประเมิน ทดสอบสมมุติฐานทางคลินิก และ Case formulation ในการรักษาทางสังคมจิตใจผู้ป่วยซึมเศร้าจำเป็นต้องมี Case formulation ที่แม่นยำ ซึ่งจำเป็นต้องเข้าใจสาเหตุ หน้าที่ และปัจจัยทั้งหลายที่เกี่ยวข้องกับอาการสำคัญของผู้ป่วย (Nezu 1997) ปัจจัยด้านความคิด อารมณ์ พฤติกรรม สังคมหรือทางชีววิทยา อาจเชื่อมโยงกับอาการเจ็บป่วย

เป้าหมายในการประเมิน เพื่อการวางแผนการรักษา เครื่องมือในการประเมินบางอย่างจะช่วยในการวางแผนการรักษา เช่น ในการรักษาผู้ป่วยโรคซึมเศร้าด้วย Cognitive behavioral Therapy (CBT) จะต้องมีการประเมินระบบความคิดของผู้ป่วยเพื่อดูว่า มี Cognitive distortion มากน้อยรุนแรงแค่ไหน โดยใช้ Automatic though questionnaire (Kendell 1989) เป็นต้น บางครั้งผลที่ได้สามารถคาดทำนายผลการรักษาหรือช่วยในการเลือกวิธีการรักษา (Nezu1996)

จะประเมินใคร ควรเลือกแบบประเมินให้เหมาะสมกับกลุ่มที่จะประเมิน ในกลุ่มที่มีความแตกต่างของวัฒนธรรมและเชื้อชาติหรือภูมิภาค อาจจะต้องมีแบบประเมินที่พัฒนาเฉพาะ เนื่องจากมีการวิจัยที่พบว่าการแสดงออกของภาวะซึมเศร้ามีความแตกต่างกันในบางวัฒนธรรม (Kaiser 1998) .........................................

ค่าพารามิเตอร์เป็นอย่างไร ค่าพารามิเตอร์หลักๆที่จะต้องพิจารณาได้แก่ ค่าความแม่นยำ (Accuracy) ค่าความเที่ยง (Reliability) ค่าความตรง (Validity) ค่าความไว (Sensitivity) ค่าความจำเพาะ (Specificity) .........................................

ใครเป็นผู้ประเมิน Self-report measures ผู้ป่วยหรือผู้ที่ถูกประเมินเป็นผู้ตอบแบบสอบถาม ซึ่งผลที่ได้จะค่อนข้างเป็นความคิด ความรู้สึกของผู้ตอบ ความแม่นยำอาจจะเสียไปบ้าง แต่มีประโยชน์ที่ใช้ง่ายและสามารถประเมินในกลุ่มคนจำนวนมากในเวลาอันสั้น อีกทั้งประหยัดค่าใช้จ่าย มักจะใช้ในการสำรวจหรือในกรณีที่ต้องการค้นหาผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคซึมเศร้า Clinician-rated measures ผู้ถูกประเมินจะเป็นผู้ตอบแบบสอบถาม จากการสัมภาษณ์อย่างเป็นระบบ (structural interview) ตามหัวข้อที่มีในแบบประเมิน โดยแพทย์ หรือผู้ที่ได้รับการอบรมการใช้แบบประเมินมาอย่างดีแล้ว .........................................

คุณสมบัติของแบบประเมิน ความแม่นตรง ค่าความไว (Sensitivity) ความแม่นตรงของแบบประเมิน โดยทั่วไปแบบประเมินทางคลินิก คือ การใช้แบบประเมินแล้วสามารถระบุคนที่ป่วยจริงได้ว่า ป่วย (True positive) และระบุคนที่ไม่ป่วยว่า ไม่ป่วย (True negative) โดยเรียกค่าที่บ่งบอกความสามารถของเครื่องมือในการตรวจวินิจฉัยแยกโรคได้ถูกต้องเมื่อเทียบกับคนที่ป่วยเป็นโรคทั้งหมดจากความเป็นจริง ค่าความจำเพาะ (Specificity) เป็นค่าที่บ่งบอกความสามารถของเครื่องมือในการตรวจวินิจฉัยแยกคนที่ไม่ป่วยได้ถูกต้องเมื่อเปรียบเทียบกับคนที่ไม่ป่วยทั้งหมดจากความเป็นจริง .........................................

คุณสมบัติของแบบประเมิน ภาษาที่ใช้ในแบบวัด สำนวนภาษาที่ใช้อาจทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนในการวัดซึ่งจะส่งผลต่อค่าความเชื่อมั่นและความแม่นตรงของการประเมิน เนื่องจากคนต่างวัฒนธรรมอาจมีการตอบสนองต่อคำบางคำต่างกัน หรือตอบสนองต่อคำถามทางบวกและลบต่างกัน ดังนั้นการพิจารณาใช้แบบวัดข้ามวัฒนธรรมนอกจากพิจารณาเปรียบเทียบจุดตัดแล้ว ควรตรวจสอบสำนวนภาษาที่ใช้ให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมนั้นๆด้วย โดยการวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างในการเลือกตอบเป็นรายข้อ (Iwata et al. 1998) .........................................

คุณสมบัติของแบบประเมิน องค์ประกอบหรือมิติของแบบวัด เป็นตัวบอกว่า โครงสร้างของแบบวัดประกอบด้วยมิติใดบ้าง ซึ่งถ้าเราสามารถทราบองค์ประกอบของแบบวัดเราจะสามารถเลือกใช้แบบวัดได้ตรงกับจุดมุ่งหมายที่เราต้องการ แต่ที่พบว่ามักจะมีปัญหาคือ ส่วนใหญ่แล้วการศึกษาที่วิเคราะห์ตรวจสอบองค์ประกอบในแบบวัดต้นฉบับมักจะไม่สอดคล้องกับฉบับที่แปลเป็นไทยมากนัก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความต่างทางขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมและภาษา ดังนั้นหากจะนำแบบวัดไปใช้โดยเลือกเพียงบางองค์ประกอบอาจทำให้ขาดความแม่นตรงได้ .........................................

คุณสมบัติของแบบประเมิน มาตราส่วนในการประเมิน (Response format) เป็นคุณสมบัติของเครื่องมือที่ต้องพิจารณาอีกอย่างหนึ่ง เนื่องจากเครื่องมือบางชนิดประเมินความบ่อยของการเกิดอาการแตกต่างกัน .........................................

แบบประเมินโรคซึมเศร้าของไทย การคัดกรอง Thai Version of the Beck depression inventory (BDI) Zung self rating depression scale (SDS) Center for Epidemiological Studies Depression Scale (CES-D) Thai Geriatric Depression Scale (TGDS) Thai Hospital Anxiety and Depression Scale (THADS) Health-Relate Set-Reported (HRSR) Scale: The Diagnosis Screening Test for Depression in Thai Population) แบบคัดกรองภาวะซึมเศร้าและฆ่าตัวตาย Khon Kaen University depression inventory (KKU-DI) การสร้างเครื่องมือเผ้าระวังการฆ่าตัวตายในชุมชนเขตภาคใต้ตอนบน .........................................

แบบประเมินโรคซึมเศร้าของไทย การจำแนก/วินิจฉัยโรค การวินิจฉัยโรคด้วย Mini International Neuropsychiatric Interview :M.I.N.I. เพื่อบรรยายอาการและประเมินอาการ Hamilton rating scale for depression (HRSD-17) Thai depression inventory (TDI) แบบวัดความซึมเศร้าในผู้สูงอายุไทย (Thai Geriatric Depression Scale) เพื่อประเมินผลลัพธ์ Montgomery-Asberg Depression Rating Scale (MADRS)

แบบประเมินโรคซึมเศร้าของเรา ภาษาอีสาน แบบคัดกรองโรคซึมเศร้าด้วย 2 คำถาม (2 Q) แบบประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9 คำถาม (9 Q) 2 Q แบบคัดกรองโรคซึมเศร้าที่สั้นที่สุด ง่าย มีความไวในการคัดกรองโรคซึมเศร้า 9 Q เป็นเครื่องมือที่มีความแม่นยำสูงในการบ่งชี้และจำแนกความรุนแรงของโรคซึมเศร้า ที่จะเป็นประโยชน์ในการวางแผนการรักษาและสอดคล้องกับบริบทของวัฒนธรรมชาวอีสาน ใช้ง่าย สั้นและบุคลากรทางสาธารณสุขสามารถนำไปใช้ในการติดตามและเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าได้ แบบประเมินการฆ่าตัวตาย