การแสดงเจตนา ศ.ดร.กำชัย จงจักรพันธ์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความหมายของไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( )
Advertisements

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐาจข้อมูล
หลักการบันทึกข้อความ
กลุ่มที่ 2 1. ผู้เยาว์สิ้นสุดการเป็นผู้เยาว์เมื่อใด
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
บทเรียนโปรแกรม Power Point
การกระทำทางสังคม (Social action)
กฎหมายมรดก.
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
วิชา มรดก ครั้งที่ ๔ เมทินี ชโลธร.
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
โดย สุทธิพงษ์ กาญจนเกษร
การกระทำความผิดเกี่ยวกับพรบ.คอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
E-learning Present Human Trafficking.
4. โมฆกรรมและโมฆียกรรม (กลุ่มที่ 10).
การสื่อสารภายในองค์การ Communication in Organization
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษ
Knowledge Management (KM)
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
การขัดกันแห่งกฎหมาย (Conflict of law)
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
แบบประเมินหลังเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 5.
แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 8.
1 3 - Part 7 แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินหลังเรียน.
แบบประเมินหลังเรียน แบบประเมินหลังเรียน. คำอธิบายก่อนทำแบบ ประเมิน ให้นักศึกษาทําแบบ ประเมินตนเอง ในส่วน ถัดไปทั้ง 10 ข้อ ให้เสร็จ สิ้นเสียก่อน โดยใช้
แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 12.
แบบประเมินหลังเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 12.
กฎหมายลักษณะบุคคล.
การเขียนรายงานการวิจัย (เชิงปริมาณ)
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
การอ่าน วิชาศท ๐๓๑ การใช้ภาษาไทย.
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
สื่อการสอน : การทำรายการ 2 (3) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
การเขียนบทคัดย่อ และ Abstract
สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านแสงอรุณ จำกัด
บทที่ 1 บุคคล.
การเขียนรายงานการวิจัย
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
การเขียนเชิงกิจธุระ.
นิติกรรม และ สัญญา บทนำ สิทธิและหน้าที่ สิทธิ มีความหมาย 2 นัย
 มาจากภาษาอังกฤษว่า Literature เช่นเดียวกับวรรณกรรม สำหรับใน ภาษาไทยนั้นมีการใช้คำว่า " วรรณคดี " ก่อนภายหลังจึงได้เกิดมีคำว่า " วรรณกรรม " ขึ้น  คำว่า.
มาตรา ๑๔๔๙ การสมรสจะกระทำมิได้ถ้าชายหรือหญิง เป็นบุคคลวิกลจริต หรือเป็นบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็น คนไร้ความสามารถ.
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ มาตรา 12
มาตรา ๑๔๕๒ ชายหรือหญิงจะทำการสมรสในขณะที่ตนมีคู่ สมรสอยู่ไม่ได้
นิติกรรมและสัญญา ศ.ดร. กำชัย จงจักรพันธ์.
ศาลที่มีอำนาจชำระในคดีอาญา
เกณฑ์การตัดสินทางจริยธรรม
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สถานะของกฎหมายประกันภัยทางทะเล และบทบาทของ Marine Insurance Act 1906
การเขียนรายงานผลการวิจัย
กรมธรรม์ประกันภัย Insurance Policy
กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51. แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ  รายงาน ประจำเดือน  รายงานประจำปี  รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ.
การศึกษาผลการสอนด้วยวิธีการแบบ บูรณาการ ระหว่างการสอนแบบ CIPPA MODELกับการสอนแบบ MAIP รายวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศ.
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ
การนำเสนอสารด้วยวาจา
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การแสดงเจตนา ศ.ดร.กำชัย จงจักรพันธ์

ความหมายของการแสดงเจตนา –การแสดงเจตนาด้วยลายลักษณ์อักษร -การแสดงเจตนาด้วยวาจา -การแสดงเจตนาด้วยอากัปกิริยาท่าทาง -การแสดงเจตนาด้วยอาณัติสัญญาณ -การแสดงเจตนาด้วยรหัส ฯลฯ

การแสดงเจตนาโดยชัดแจ้ง- เข้าใจโดยทันที ชัดแจ้ง ไม่ต้องตีความหรือแปลความ

การแสดงเจตนาโดยปริยาย - ต้องมีการตีความหรือแปลความ

การแสดงเจตนาด้วยการนิ่ง โดยหลัก ไม่ถือว่าเป็นการแสดงเจตนา ยกเว้น – กฎหมาย/จารีตประเพณี/ข้อสัญญา/แนวปฏิบัติต่อกัน

การแสดงเจตนามีผลตามกฎหมายเมื่อใด 4 ทฤษฎี 1. Theory of Expression เห็นว่า การแสดงเจตนาจะมีผลต่อเมื่อได้แสดงออกมาภายนอกให้ปรากฏ

การแสดงเจตนามีผลตามกฎหมายเมื่อใด 2. Theory of Dispatch เห็นว่าการแสดงเจตนาจะมีผลต่อเมื่อนอกจากแสดงออกมาภายนอกให้ปรากฏแล้ว เจตนานั้นจะต้องถูกส่งไปยังผู้รับซึ่งการแสดงเจตนาด้วย

การแสดงเจตนามีผลตามกฎหมายเมื่อใด 3. Theory of Reception เห็นว่าการแสดงเจตนาจะมีผลตามกฎหมายต่อเมื่อผู้รับซึ่งการแสดงเจตนาได้รับซึ่งการแสดงเจตนาเสียก่อน

การแสดงเจตนามีผลตามกฎหมายเมื่อใด 4. Theory of Perception เห็นว่าการแสดงเจตนาจะมีผลตามกฎหมายต่อเมื่อ ผู้รับซึ่งการแสดงเจตนาจะต้องได้ทราบหรือเข้าใจซึ่งการแสดงเจตนานั้นเสียก่อน การแสดงเจตนานั้น ๆ จึงจะมีผลตามกฎหมาย

นักศึกษาวิเคราะห์ว่า แนวคิดหรือทฤษฎีใด เหมาะสมที่สุด ???

สรุป แต่ละแนวคิด ก็เหมาะสมสำหรับการแสดงเจตนาแต่ละลักษณะ สรุป แต่ละแนวคิด ก็เหมาะสมสำหรับการแสดงเจตนาแต่ละลักษณะ

ลักษณะของการแสดงเจตนา 4 ลักษณะ 1. การแสดงเจตนาต่อบุคคลซึ่งอยู่เฉพาะหน้า 2. การแสดงเจตนาต่อบุคคลซึ่งมิได้อยู่เฉพาะหน้า (อยู่ห่างโดยระยะทาง) 3. การแสดงเจตนาโดยที่ไม่ต้องมีผู้รับซึ่งการแสดงเจตนา 4. การแสดงเจตนาต่อบุคคลผู้หย่อนความสามารถ

1.การแสดงเจตนาต่อบุคคลซึ่งอยู่เฉพาะหน้า ความหมายของการแสดงเจตนาต่อบุคคลซึ่งอยู่เฉพาะหน้า -สื่อสารเข้าใจกันได้ในทันที

มาตรา 168 - ทฤษฎีที่ 4 “การแสดงเจตนาที่กระทำต่อบุคคลซึ่งอยู่เฉพาะหน้าให้ถือว่ามีผลนับแต่ผู้รับการแสดงเจตนาได้ทราบการแสดงเจตนานั้น ความข้อนี้ให้ใช้ตลอดถึงการที่บุคคลหนึ่งแสดงเจตนาไปยังบุคคลอีกคนหนึ่งโดยทางโทรศัพท์หรือโดยเครื่องมือสื่อสารอย่างอื่น หรือโดยวิธีอื่นซึ่งสามารถติดต่อถึงกันได้ทำนองเดียวกัน”

2.การแสดงเจตนาต่อบุคคลซึ่งมิได้อยู่เฉพาะหน้า (อยู่ห่างโดยระยะทาง) 2.การแสดงเจตนาต่อบุคคลซึ่งมิได้อยู่เฉพาะหน้า (อยู่ห่างโดยระยะทาง) ความหมายของการแสดงเจตนาต่อบุคคลซึ่งมิได้อยู่เฉพาะหน้า -ไม่สามารถสื่อสารเข้าใจกันได้ในทันที

มาตรา 169 –ทฤษฎีที่ 3 “การแสดงเจตนาที่กระทำต่อบุคคลซึ่งมิได้อยู่เฉพาะหน้าให้ถือว่ามีผลนับแต่เวลาที่การแสดงเจตนานั้นไปถึงผู้รับการแสดงเจตนา ...แต่ถ้าได้บอกถอนไปถึงผู้รับการแสดงเจตนานั้นก่อนหรือพร้อมกันกับที่การแสดงเจตนานั้นไปถึงผู้รับการแสดงเจตนา การแสดงเจตนานั้นตกเป็นอันไร้ผล การแสดงเจตนาที่ได้ส่งออกไปแล้วย่อมไม่เสื่อมเสียไป แม้ภายหลังการแสดงเจตนานั้นผู้แสดงเจตนาจะถึงแก่ความตาย หรือถูกศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ”

ความหมายของคำว่า “ไปถึง” ผู้รับการแสดงเจตนา

นักศึกษามีความเห็นอย่างไร ทฤษฎีที่ 3 หรือทฤษฎีที่ 4 นักศึกษามีความเห็นอย่างไร ทฤษฎีที่ 3 หรือทฤษฎีที่ 4 กฎหมายใช้คำว่า “ให้ถือว่า”

การบอกถอนการแสดงเจตนาที่กระทำต่อบุคคลซึ่งมิได้อยู่เฉพาะหน้า (ม. 169) 1. 2.

ความเสื่อมเสียของการแสดงเจตนา (ม. 169 วรรคสอง) “การแสดงเจตนาที่ได้ส่งออกไปแล้วย่อมไม่เสื่อมเสียไป แม้ภายหลังการแสดงเจตนานั้น ผู้แสดงเจตนาจะถึงแก่ความตาย หรือถูกศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ”

ตาย ไร้ความสามรถ เสมือนไร้ความสามารถ

3. การแสดงเจตนาโดยที่ไม่ต้องมีผู้รับซึ่งการแสดงเจตนา

4. การแสดงเจตนาต่อบุคคลผู้หย่อนความสามารถ โดยทั่วไป บุคคลผู้หย่อนความสามารถ มี ผู้เยาว์ คนไร้ความสามารถ บุคคลวิกลจริต คนเสมือนไร้ความสามารถ

โมฆียะ บุคคลหย่อนความสารถ

การแสดงเจตนาต่อบุคคลผู้หย่อนความสามารถ ในกรณีนี้หมายถึง ผู้เยาว์ คนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ ในกรณีนี้หมายถึง ผู้หย่อนความสามารถเป็นผู้รับการแสดงเจตนา

ผู้เยาว์ คนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ

การตีความการแสดงเจตนา เป็นเรื่องที่สำคัญมาก และยากมากเรื่องหนึ่งของนักกฎหมาย

ถ้าชัดเจน เข้าใจตรงกัน – ก็ไม่มีความจำเป็นต้องตีความ

การแสดงเจตนา “ข้าวเย็นหมดแล้ว” “ไม่มีเวลาไปหาเมียน้อย”

การตีความ ยกตัวอย่าง การตีความ ?

การแสดงเจตนา -การกระพริบไฟหน้ารถ