กลุ่มที่ 2 โครงการที่ 7 วัยทำงาน : ป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ เรื้อรังและอุบัติเหตุ สำนักโรคไม่ติดต่อ 6 พ.ย 57.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กรอบนโยบาย แผนงาน/โครงการที่จะดำเนินการ
Advertisements

Service Plan สาขา NCD.
เป้าหมาย ตัวชี้วัด และยุทธศาสตร์การดำเนินงาน กระทรวงสาธารณสุข 2557
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
ความก้าวหน้าการขับเคลื่อน คลินิก NCD คุณภาพ
การแบ่งงานและหน้าที่ความรับผิดชอบ
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานระดับกลุ่มจังหวัดและระดับจังหวัด
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
สำนักวิชาการและแผนงาน
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
สรุปผลการปิดอำเภอ ปีงบประมาณ 2555 ศสท. สผส. สวผ..
แผนปฏิบัติการสำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัด พื้นที่ X-RAY ประจำปีงบประมาณ 2556 งาน / โครงการ / กิจกรรม จำนว น ช่าง สำรว จ จำนว น กล้อ ง ( เครื่ อง ) เพิ่ม.
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
แนวทางการประชุมกลุ่ม
ผลงาน ราย ผลงาน >20 ราย 13 จว. 16 แห่ง ขอนแก่น แพร่ นนทบุรี เชียงราย ลำปาง ปทุมธานี สระบุรี อ่างทอง สงขลา สุราษฎร์ ธานี ภูเก็ต หน่วยที่มี ผลงาน.
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
การถ่ายโอนภารกิจให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
โครงการพัฒนามาตรการป้องกัน เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ค่าบริการแพทย์แผนไทยปีงบ 2556
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาเขตสุขภาพ
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
ข้อตกลงร่วมกันระหว่างสำนักฯ/สถาบัน/สคร.ฯ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ความสุขคนไทย” ระหว่างวันที่ กันยายน 2554.
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
แผนพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
การดำเนินงาน คลินิก NCD คุณภาพ จังหวัดเลย
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
สาขาโรคมะเร็ง.
นโยบายการขับเคลื่อนงานสาธารณสุข อำเภอเมืองยโสธร ปีงบประมาณ ๒๕๕๘
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
พัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
กรอบการดำเนินงาน แผนงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
เริ่ม ออก.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ( ฉบับที่ 7) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 30 พฤศจิกายน 2555.
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
กลุ่มที่ 2 โครงการที่ 7 วัยทำงาน : ป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ เรื้อรังและอุบัติเหตุ สำนักโรคไม่ติดต่อ 6 พ.ย 57.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
โครงการนำร่องการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด
สรุปผลการปิดอำเภอเป้าหมาย ปี 2556 ข้อมูล ณ วันที่ 15 พฤษภาคม 2557 สวผ. ศสท. สผส. และ สจก.
สรุปผลการปิดอำเภอเป้าหมาย ปี 2556 ข้อมูล ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2557 สวผ. ศสท. สผส. และ สจก.
สรุปผลการปิดอำเภอเป้าหมาย ปี 2556 ข้อมูล ณ วันที่ 1 กันยายน 2557 สวผ. ศสท. สผส. และ สจก.
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
คู่มือสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยทำงานด้านโรคไม่ติดต่อ
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มที่ 2 โครงการที่ 7 วัยทำงาน : ป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ เรื้อรังและอุบัติเหตุ สำนักโรคไม่ติดต่อ 6 พ.ย 57

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน อัตราตายต่อประชากรแสนคนด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ อุบัติเหตุทางถนน ปี พ.ศ.2545 – 2556 (ทุกกลุ่มอายุ) ที่มา : สนย. ปัญหา : 1. NCDs อุบัติเหตุทางถนน และโรคจากการประกอบอาชีพ 2. แนวโน้มอัตราตายจากโรค NCDs อุบัติเหตุยังคงเพิ่มขึ้น ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา 3. GAP เรื่องศักยภาพบุคลากร CVD risk assessment และคลินิก NCD คุณภาพ

โรคและภัยสุขภาพเป้าหมาย อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ลดลงร้อยละ 10 ภายในระยะ 5 ปี (2558-2562) อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน (ไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน)

23 อัตราตายอย่างหยาบรวมทุกกลุ่มอายุด้วยโรค CHD ใน 9 เดือน เมื่อเทียบกับเป้าหมายทั้งปี (ไม่เกิน 23 ต่อแสน) เขต 3, 4, และกทม. จะมีอัตราตายสูงกว่าเป้าหมายของทั้งปีค่อนข้างมาก และเมื่อดูข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี ก็พบว่ามีอัตราตาย สูงกว่าประเทศค่อนข้างมากและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น สาเหตุยังอธิบายไม่ได้ชัดเจน แต่พบว่าทั้ง 3 เขตมีความชุกของ HT สูง และออกกำลังกายน้อย

จังหวัดที่มีอัตราตายต่อโรคหลอดเลือดหัวใจ เกินร้อยละ 23 ต่อประชากรแสนคนปีงบประมาณ 2557 ต.ค.56 – มิ.ย.57 (รอบ 9 เดือน) เขตบริการสุขภาพที่ จังหวัด จำนวน รายชื่อ 1 2 แพร่ น่าน 7 - อุตรดิตถ์ 8 3 4 ชัยนาท นครสวรรค์ กำแพงเพชร พิจิตร 9 นนทบุรี ปทุมธานี อยุธยา อ่างทอง ลพบุรี สิงห์บุรี สระบุรี นครนายก 10 5 ราชบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร 11 นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี ระนอง ชุมพร 6 สมุทรปราการ ชลบุรี จันทบุรี 12 พัทลุง

เป้าหมายประเทศ นอกนั้นสูงกว่า 20 เมื่อกำหนดเป้าหมายปี 57 ที่ลดลง 7% จากค่า 3 yrs median แล้วถอดออกมาเป็นเป้าหมายในระยะ 9 เดือน ปรากฏว่ามีเขต 1, 6, 7, 8, 9 ที่อัตราตายสูงกว่าเป้าหมาย 9 เดือน และที่สูงกว่าค่อนข้างมาก คือ เขต 1 54 55 56 เป้าหมายระดับประเทศไม่เกิน 20 ต่อแสน 20 อัตราตาย 3 ปี (54-56) ย้อนหลัง ในภาพรวมของประเทศยังคงเพิ่มขึ้น มีเพียงเขต 4,7,8,10 มีอัตราตายใกล้เคียงหรือต่ำเกว่า เป้าหมายประเทศ นอกนั้นสูงกว่า

จังหวัดที่มีอัตราตายอุบัติเหตุทางถนน เกินร้อยละ 20 ต่อประชากรแสนคนปีงบประมาณ 2557 ต.ค.56 – มิ.ย.57 (รอบ 9 เดือน) เขตบริการสุขภาพที่ จังหวัด จำนวน รายชื่อ 1 4 เชียงราย ลำปาง ลำพูน เชียงใหม่ 7 - 2 3 ตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ 8 พิจิตร ชัยนาท กำแพงเพชร 9 นครราชสีมา นครนายก สระบุรี 10 5 ประจวบคีรีขันธ์ นครปฐม สุพรรณบุรี เพชรบุรี 11 ชุมพร พังงา ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี 6 ระยอง ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี จันทบุรี ตราด สระแก้ว 12

ค่าเป้าหมายอุบัติเหตุทางถนน รายเขตบริการสุขภาพปีงบประมาณ 2558 (ค่าตั้งต้น median 3 ปี ปี 2553-2555) เขตบริการ เขต 1 เขต 2 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 เขต 7 ค่าตั้งต้น 1,362 888 773 994 1,465 1,828 862 เป้าหมายปี 58 (จำนวน) 1,171 764 665 855 1,259 1,572 741 ปชก.กลางปี 56 5,692,131 3,442,424 3,012,677 5,126,066 5,111,914 5,723,930 5,021,953 เป้าหมายปี 58 (อัตราตายต่อแสน) 20.57 22.19 22.07 16.68 24.63 27.46 14.76 เขตบริการ เขต 8 เขต 9 เขต 10 เขต 11 เขต 12 กทม. รวม ค่าตั้งต้น 722 1,393 850 1,364 1,126 194 13,819 เป้าหมายปี 58 (จำนวนตาย) 620 1,198 731 1,173 968 167 11,884 ปชก.กลางปี 56 5,467,199 6,697,369 4,549,926 4,313,028 4,782,779 5,679,906 64,621,302 (อัตราตายต่อแสน) 11.34 17.89 16.07 27.20 20.24 2.94 18.39

คู่มือบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน (2.60 ลบ.) บูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ปีงบประมาณ 2558 (120.10 จากเดิม 134.58 ลบ.) กรมคร. 45.45 ลบ./กรม สบส. 9.28 ลบ./กรม อ. 2.00 ลบ./กรมสุขภาพจิต 1.00 ลบ./ สบรส. 62.38 ลบ. ผลลัพธ์ : ลดป่วย ลดตาย จากโรคNCDs โรคจากการประกอบอาชีพ ลดบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน - พัฒนาคลินิก NCD คุณภาพในสถานบริการสาธารณสุข ทุกระดับ - ระบบสุขภาพอำเภอ--จัดระบบข้อมูลข่าวสาร: 43 แฟ้ม IS - M&E - ตำบลจัดการสุขภาพ/ Healthy workplace - บังคับใช้กฎหมาย 1.ขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ /Healthy Workplace 2 บังคับใช้กฎหมายสุรา-ยาสูบ 3. พัฒนาการดำเนินงานด้านอุบัติเหตุจราจร - สอบสวนอุบัติเหตุ - บูรณาการทุกหน่วยงานในระดับจังหวัด Population Approach Individual Approach 1.การควบคุม DM HT - พัฒนาคลินิก NCD คุณภาพ -มุ่งเน้น Behavior Change 2.พัฒนาการจัดการความเสี่ยง CVD -พัฒนา/เร่งรัดการใช้ CVD Risk assessment -จัดการ Specific group Behavior Change 1.มาตรการ สร้างเสริมสุขภาพและวิถีชีวิตในประชากร(28.57 ลบ.) 2. มาตรการ พัฒนาคลินิกบริการและการจัดการโรค (23.15 ลบ.) มาตรการสนับสนุน คู่มือบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน (2.60 ลบ.) การพัฒนาระบบสร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มวัยทำงาน (62.38 ลบ.) M&E (3.40 ลบ.)

มาตรการและแนวทางสำคัญ

มาตรการการดำเนินงาน ปี 2558 กลุ่มวัยทำงาน เป้าหมาย วิธีการวัด งบประมาณ 1. สร้างเสริมสุขภาพและวิถีชีวิตในประชากร บูรณาการตำบลจัดการสุขภาพ(NCD อุบัติเหตุ) บูรณาการการป้องกันอุบัติเหตุทางถนนใน DHS - สถานที่ทำงาน/สปก.ปลอดโรค ปลอดภัย ฯ - บังคับใช้กฎหมาย (สุรา บุหรี่ ) - สื่อสารความเสี่ยง (3อ 2ส 3ม 2ข 1ร) - การประเมินสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน (มะเร็งและความเสี่ยงจากการทำงาน) 2.พัฒนาคลินิกบริการและการจัดการโรค -คลินิก NCD คุณภาพ (+บูรณาการ บริการDPAC Psychosocial บริการช่วยเลิกบุหรี่ และสุรา และบริการอาชีวอนามัย) 3.มาตรการสนับสนุน -พัฒนาระบบข้อมูล บริหารจัดการ และ M&E 1.ลดความชุกของพฤติกรรมเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง( NCD env-occ อุบัติเหตุ) 2.ลดอัตราตายด้วยอุบัติเหตุทางถนนร้อยละ 50 ภายในปี 2563 3.ลดอัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ร้อยละ 10 ภายในระยะ 5 ปี การสำรวจ BRFSS ทุก 3 ปี รายงานผลการดำเนินการตามกฎหมายแรงงาน ระบบรายงานการเสียชีวิตจากฐานมรณะบัตร (สนย.) 28.57 ลบ. (สบรส. 48.00 ลบ. ) 23.15 ลบ. 6.00 ลบ. (สบรส 14.38 ลบ. )

มาตรการ/กิจกรรมหลัก กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลา มาตรการที่ 1 สร้างเสริมสุขภาพและวิถีชีวิตในประชากร 1.อุบัติเหตุทางถนน - พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้เป็น Mr.RTI - ผู้รับผิดชอบงานอุบัติเหตุของ สคร. (สคร.ละ 1 คน) ไตรมาส 1 24-28 พย.57 มาตรการที่ 2 พัฒนาคลินิกบริการและการจัดการโรค 1. พัฒนาคลินิก NCD คุณภาพ - ชึ้แจง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ อบรม NCD system manager, Case manager (2ครั้ง) - ผู้รับผิดชอบงาน NCD ของ สคร. - ผู้รับผิดชอบงานระบาด ของ สคร. ไตรมาส 1 - ครั้งที่ 1 วันที่ 10-12พย.57 - ครั้งที่ 2 วันที่ 2-4 ธค.27 - โอนงบให้ สคร.เพื่อชี้แจงการดำเนินงาน/พัฒนาศักยภาพ, แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเขตบริการสุขภาพ, ประเมินรับรองคลินิก NCDคุณภาพ (30% รพช.) สคร.1-12 2. นำร่องการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการขับเคลื่อนและรูปแบบการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ไตรมาส 2 มค.58 - สนับสนุนงบประมาณเพื่อดำเนินกิจกรรมลดเสี่ยง (การคัดกรอง/ประเมิน CVD risk , interventions หลังการคัดกรอง เช่น การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การควบคุมปัจจัยเสี่ยง และการติดตามประเมินผล) **จ.สิงห์บุรี จ.อ่างทอง

มาตรการ/กิจกรรมหลัก กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลา 3. พัฒนาหลักสูตรเพื่อสนับสนุนให้เกิดการจัดการตนเอง - พัฒนา(ร่าง)คู่มือสนับสนุนให้เกิดการจัดการตนเอง สำหรับบุคลากรสาธารณสุข ในการประเมินความพร้อมของกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และ(ร่าง)หลักสูตรเพื่อสนับสนุนให้เกิดการจัดการตนเอง ไตรมาส 1-2 - สนับสนุนงบประมาณเพื่อดำเนินกิจกรรมตามคู่มือฯ **สุราษฎร์ธานี สระบุรี นครสวรรค์ 4.แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ลดเสี่ยงเลี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง/องค์กรต้นแบบลดเสี่ยง ลดโรค - จัดกิจกรรมการประกวดผลการดำเนินงานเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ลดเสี่ยงเลี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สคร.1-12 มค.58 - องค์กรต้นแบบลดเสี่ยง ลดโรคหัวใจและหลอดเลือดสุขภาพดี ที่ลดเสี่ยงบูรณาการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข **สนับสนุนงบประมาณให้แก่ สคร. ไตรมาส3-4 5. สำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ - การเก็บข้อมูลการสำรวจในพื้นที่ตัวอย่าง มาตรการที่ 3 มาตรการสนับสนุน 1. คู่มือบูรณาการวัยทำงาน 2. กำกับติดตาม ประเมินผล - ติดตามตรวจเยี่ยมและประเมินผลการดำเนินงานด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ผู้บริหารและนักวิชาการของกรมคร. ผู้บริหารและนักวิชาการที่เกี่ยวข้อง(กรมสบส.,กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต)

สิ่งสนับสนุนการดำเนินงาน คู่มือ แหล่งสืบค้น 1.คู่มือการจัดบริการสุขภาพกลุ่มวัยทำงานแบบบูรณาการ 2558 www.thaincd.com 2.คู่มือพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติการตาม พรบ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2535 พรบ.คุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ.2535 และพรบ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 www.thaiantialcohol.com www.btc.ddc.moph.go.th 3. คู่มือประเมินการดำเนินงานคลินิก NCD คุณภาพ 2557 4. คู่มือแนวทางการดำเนินงาน สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข 5. แนวทางการดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน ปีพ.ศ.2558 www.phc.moph.go.th

พฤติกรรมเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง M & E ปี 2558 พฤติกรรมเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง BRFSS / IS ผลลัพธ์ทางสุขภาพ (ลดป่วย ลดตาย) รายงานผู้ป่วย และมรณบัตร ติดตามผลลัพธ์ การดำเนินงาน - NCD เหล้า บุหรี่ อุบัติเหตุ En-occ ระดับเขตสุขภาพ คณะทำงาน M&E (12เขต) (Internal Audit) SIIIM การประเมินแบบมีส่วนร่วม ระดับจังหวัด ตำบลจัดการสุขภาพ (NCD, อุบัติเหตุ, healthy workplace ) คลินิก NCD คุณภาพ กรม สบส. ประเมิน 5 ระดับ คือ ระดับพื้นฐาน พัฒนา ดี ดีมาก และดีเยี่ยม กรมควบคุมโรค -สถานบริการสธ. ประเมินตนเอง -สคร. + จังหวัด ประเมินรับรอง หมอหญิงเสนอให้เพิ่มข้อมูลในสไลด์ ตามตาราง 3 ช่อง (สไลด์ 10) ดังนี้ ผลลัพธ์ทางสุขภาพ จะดูจากรายงานผู้ป่วย และมรณบัตร พฤติกรรมเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง โดยการสำรวจ BRFSS / IS ระดับเขต ปัจจัยความสำเร็จ จากการ M&E ระดับจังหวัดและระดับเขต