ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้างภาพเคลื่อนไหว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สตอรี่บอร์ด (Story board)
Advertisements

Funny with Action Script
วิธีการเรียนบทเรียนมัลติมีเดีย Great Wall Chinese
การใส่ลูกเล่นให้กับงานนำเสนอ
ผู้แต่ง : Andy Wyatt พิมพ์ที่ ประเทศอังกฤษ โดย บริษัท Thames&Hudson Ltd.
บทที่ 2 มาตรฐานการเขียนแบบ (The Convention of Drawing)
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
การพัฒนาเว็บ.
โดยการใช้ Layer และ Timeline
HTML (คืออะไร) ภาษา HTML (HyperText Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้คำสั่งที่เรียกว่า Tag มีทั้งเปิดและปิด เพื่อกำหนดบริเวณที่มีผลของคำสั่ง คำสั่งภาษา HTML.
Chapter 4 : Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
Asynchronous Transfer Mode
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
การสร้างภาพเคลื่อนไหว
ลักษณะเวทีและการจัดที่นั่งผู้ชมในโรงละคร
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
การออกแบบสื่อการเรียนรู้
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30216 การสร้างเกมคอมพิวเตอร์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบการทำโครงงาน
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
Symbol ชนิด Button Symbol ชนิด Button.
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Power Point
เว็บเพจและเว็บไซต์ webpage website
การวิเคราะห์เนื้อหา.
โรงเรียนอรรถวิทยพณิชยการ บทเรียนออนไลน์
Web Technology & Basic Web Development
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
Background / Story Board / Character
Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
Symbol & Instance.
ทักษะการคิดวิเคราะห์
การจัดการเกี่ยวกับรูปภาพตอนที่ ๑ การจัดการเกี่ยวกับภาพเพื่อนำภาพมาใช้ ประกอบงาน การจัดการเกี่ยวกับภาพเพื่อนำภาพมาใช้ประกอบ งาน มีอยู่หลายวิธีขึ้นอยู่ กับ.
การจัดการเกี่ยวกับตารางตอนที่ ๖ การสร้างตาราง (TABLE) เบื้องต้น : การ สร้างหัวตาราง ตารางทุกตารางจะมี “ ส่วนหัว ” ของตาราง หรือ HEAD เพื่อใช้กำกับหมู่
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการกำกับการแสดง
การจัดการเกี่ยวกับกรอบตอนที่ ๓ การสร้างกรอบ (FRAME) เบื้องต้น : การ บรรจุข้อมูลในกรอบ ตัวอย่ าง TAG คำสั่งเกี่ยวกับการกำหนดชื่อของ กรอบ ประกอบด้วย ข้อมูลที่ใช้แสดงในกรอบควรเป็นแฟ้มข้อมูลที่มี
การจัดการเกี่ยวกับกรอบตอนที่ ๑ การสร้างกรอบ (FRAME) เบื้องต้น รูปแบ บ TAG คำสั่งเกี่ยวกับการสร้างกรอบ เบื้องต้น ประกอบด้วย กรอบ หรือ FRAME เป็นการแบ่งส่วนของ.
ซอฟต์แวร์ที่สนใจ Adobe ImageReady.
การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วย
ความหมายของแอนิเมชัน
การถ่ายวีดีโอ.
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Layer
รู้จักกับ Microsoft Access 2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Symbol ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ครูผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร.
เริ่มต้น Photoshop CS5.
บทที่8 การเขียน Storyboard.
โรงแรมนนทบุรีพาเลซ จังหวัดนนทบุรี 8-9 มีนาคม 2557.
การสร้างสรรค์บทละคร.
องค์ประกอบของบทละคร.
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การสอนโดยใช้บทเรียนโปรแกรม
Lighting Designer นักออกแบบแสง.
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
การเขียนบทวิจารณ์วรรณกรรม
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ.
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
เลื่อนเมาส์แล้วเปลี่ยนเฟรม 1. สร้างไฟล์ flash โดยเลือกเป็น Action Script เพิ่ม Layer ให้เป็น 2 เลเยอร์ แล้วตั้งชื่อ เลเยอร์ บนสุด ตั้งชื่อ action.
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
เทคนิคการใช้ โปรแกรมเพาเวอร์พอยต์
โครงสร้างของภาษา HTML
บทที่ 9 แอนิเมชั่น Animation อ.ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้างภาพเคลื่อนไหว

หลักในการสร้างภาพเคลื่อนไหว สำหรับหลักการในการสร้างภาพเคลื่อนไหวคล้ายกับการสร้างการ์ตูนโดยประกอบด้วย ฉากการแสดง(Scene) เป็นเนื้อหาย่อยๆ ของภาพยนตร์ทั้งเรื่องซึ่งจะประกอบไปด้วยฉากต่างๆ หลายๆ ฉาก โดยที่ตัวละครในฉากจะแสดงบนเวทีการแสดง (Stage) ในแต่ละฉากก็จะมีตัวละครหรือสิ่งที่ต้องแสดงหลายๆตัวละครเรียกว่า เลเยอร์(Layer) ในแต่ละท่าทางของตัวละครที่แสดงเรียกว่า เฟรม (Frame) และเมื่อนำเฟรมต่างๆ มาแสดงจะได้ภาพเคลื่อนไหว ของตัวละครนั้นๆ

ตัวละคร (Layer) ฉากการแสดง (Scene) เวทีการแสดง (Stage) ท่าทางของตัวละคร (Frame)

องค์ประกอบของภาพเคลื่อนไหว ฉากการแสดง (Scene) Scene คือ เรื่องราวตอนหนึ่งในละครทั้งเรื่อง ซึ่งในละครหนึ่งเรื่องจะประกอบไปด้วยหลายๆฉาก สำหรับในโปรแกรม Flash เมื่อเริ่มสร้างชิ้นงานโปรแกรมจะสร้าง Scene ให้แล้วโดยกำหนดชื่อว่า Scene1 ถ้ามีการเรียกใช้ Scene หลายๆ Scene การทำงานของโปรแกรม Flash จะเริ่มทำงานจาก Scene1 ไปเรื่อยๆตามลำดับ

องค์ประกอบของภาพเคลื่อนไหว ท่าทางของตัวละคร (Frame) Frame คือ ช่องแสดงภาพแต่ละช่วงเวลา ถ้าเปรียบเทียบกับละคร Frame หมายถึง ท่าทางของตัวละครที่จะเคลื่อนไหวในลักษณะต่างๆในแต่ละช่วงเวลาที่ผู้กำกับกำหนด โดยในการแสดงแต่ละครั้งจำเป็นต้องใช้ Frame เป็นจำนวนหลายๆ Frame

ลักษณะการทำงานของ Frame Frame มีลักษณะเป็นช่องเล็กๆที่เรียงกันเป็นแถวยาว ทำหน้าที่บรรจุภาพและเสียงที่จัดวางบน Stage เราจึงต้องจัดเรียงเรื่องราวบน Frame เพื่อแสดงออกมาเป็น Flash Movie โดยแต่ละ Frame จะถูกแสดงเมื่อมีการผ่านของ Play head ตัวนี้เองจะเป็นตัววิ่งผ่าน Frame แต่ละ Frame เพื่อแสดงภาพและเสียงที่บรรจุอยู่ใน Frame

ลักษณะการทำงานของ Frame Key Frame เฟรมที่กำหนดรายละเอียดหรือสร้างชิ้นงานไว้ภายในแตกต่างกันออกไป ใช้สำหรับสร้างภาพเคลื่อนไหวในแต่ละช่วง Frame ช่วงของเฟรมที่มีลักษณะภายในเฟรมเหมือนกันทั้งหมดแบบต่อเนื่องมาจากคีย์เฟรมแรก ใช้สำหรับสร้างเฟรมภาพนิ่งที่ไม่กำหนดการเคลื่อนไหว Key Frame Play Head Blank Frame Frame Blank Key Frame Play Head หัวอ่านหรือหัวเล่น Movie Blank Frame ส่วนที่ยังไม่ได้สร้างเฟรมขึ้นมาใช้งาน Blank Key Frame คีย์เฟรมที่ว่างอยู่ยังไม่มีการกำหนดรายละเอียดหรือสร้างชิ้นงานไว้ภายใน

แบบฝึกทักษะ คำชี้แจง จงสร้างและจัดการเกี่ยวกับองค์ประกอบของภาพเคลื่อนไหว (Scene Frame Layer)คนละ 1 ชิ้นงาน โดยปฏิบัติตามคำสั่ง ดังนี้ 1. สร้าง Scene ขึ้นมา 2 Scene โดย Sceneที่ 1 ตั้งชื่อว่า “ชื่อเรื่อง” และ Sceneที่ 2 ตั้งชื่อว่า “ฉากที่ 1” 2. ให้นักเรียนเพิ่ม Frame 3 Frame แล้วปรับการแสดง Frame ให้มีขนาด Medium