มาตรฐานการให้รางวัลผลงานด้านการวิจัยและพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Dr.Smira Chittaladakorn
Advertisements

: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
ข้อเสนอแนะในการเสนองานวิจัย
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การวิจัยเชิงทดลอง สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การวิจัย RESEARCH.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
สถิติและวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
Experimental Research
รูปแบบการวิจัย Research Design
แนะนำวิทยากร.
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
แบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
การจัดกระทำข้อมูล.
การออกแบบการวิจัย.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
“ทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย R to R”
การเขียนรายงานการวิจัย
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
วิธีวิทยาการวิจัยของงานวิจัยในโรงพยาบาล
การเขียนรายงานการวิจัย
สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Extension Dept. 1 กระบวนวิชา การประเมินผลโครงการ ส่งเสริมการเกษตร ( Assessment and Evaluation of Extension Program in Agriculture.
Quality of Research ทำวิจัย อย่างไรให้มีคุณภาพ
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
กระบวนการวิจัย Process of Research
การวิเคราะห์ความแปรปรวนหลายตัวแปร MANOVA
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
การสุ่มตัวอย่าง ( Sampling Technique)
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
การเขียนรายงานผลการวิจัย
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบริหารและพัฒนาอุตสาหกรรม
EXPERIMENTAL RESEARCH NON-EXPERIMENTAL RESEARCH
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
CLASSROOM ACTION RESEARCH
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
บทที่ 5 การออกแบบการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ผู้วิจัย : สุภาพร อภิพันธุ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มาตรฐานการให้รางวัลผลงานด้านการวิจัยและพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย

ประเด็นนำเสนอ 1. งานวิจัยเชิงปริมาณที่เป็นแบบอย่างได้และ มีมาตรฐานสูง 1.1 ด้านเครื่องมือวัด 1.2 ด้านการวิเคราะห์ข้อมูล และการอภิปรายผล 2. ปัญหาที่พบในงานวิจัยที่เสนอเพื่อขอรับรางวัล

แบบการวิจัย (RESEARCH DESIGN) การออกแบบการวิจัย แบบการวิจัย (RESEARCH DESIGN) KERLINGER: Research design - Blueprint - Plan - Structure - Strategies

PURPOSES OF DESIGNING RESEARCH TO ANSWER THE RESEARCH QUESTIONS 2. TO CONTROL THE VARIANCES (MAX- MIN- CON PRINCIPLES) 2.1 MAX. OF SYSTEMATIC VARIANCES 2.2 MIN. OF ERROR VARIANCES 2.3 CON. OF EXTRANEOUS VARIANCES

Dependent V IndependentV EV MAX. MIN. SYSTEMATIC VARIANCE เพิ่มความแปรปรวนระหว่างกลุ่มทดลอง/ควบคุม ให้ต่างกันมาก ตัวแปรอิสระทุกตัว ต้องอิสระกันมากที่สุด ERROR VARIANCE ควบควบคุมสภาพและเงื่อนไขการทดลอง เช่น จับเวลาผิด เครื่องมือวัด บกพร่อง เหนื่อย สุขภาพ อารมณ์ไม่สม่ำเสมอ การเดาของผู้ถูกทดลอง โอกาสจึงไม่เท่ากัน แก้ไขโดยใช้สถิติให้ข้อมูลแจกแจงปกติ CONT. EXTRANEOUS VARIANCE ควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน สุ่ม เพิ่มโดยนำเข้า มาศึกษาเป็นตัวแปรอิสระ,จับคู่ , ใช้สถิติวิเคราะห์ANCOVA , ตัดทิ้ง โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างที่มีความสนใจคล้ายกัน

CONTROL OF EXTRANEOUS VARIANCES 1. ELIMINATION 2. RANDOMIZATION, RANDOM ASSIGNMENT 3. MATCHING, BLOCKING 4. STATISTICAL CONTROL

RESEARCH DESIGN DATA ANALYSIS DESIGN SAMPLING DESIGN STRATEGIES RESEARCH DESIGN SAMPLING DESIGN DATA COLLECTION DESIGN INSTRUMENTAL DESIGN

แบบการวิจัย (Kirk’s research strategies) - Experimental research - Quasi-exp. research, causal survey research - Time series and single subject study - Prospective (cohort/longitudinal) study - Ex-post facto study or retrospective study - Sequential/longitudinal-overlapping study - Time lag study - Survey research - Case study or naturalistic research

TRUE-EXPERIMENTAL DESIGN 1. PRETEST-POSTTEST CONTROL GROUP DESIGN E: O X O (Ancova; t-test) C: O O 2. SOLOMON FOUR-GROUP DESIGN E1: O X O (twoway anova) C1: O O E2: X O C2: O 3. STATIC-GROUP COMPARISON E: X O (t-indpendent groups) C: O R R R

ประเด็นในการออกแบบงานวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง อภิปรายผล เครื่องมือ วิเคราะห์ ข้อมูล ประเด็นในการออกแบบงานวิจัยเชิงปริมาณ

การออกแบบการเลือกกลุ่มตัวอย่าง การกำหนดประชากร และกลุ่มตัวอย่าง 1. ชัดเจน ตรง และครอบคลุมตามปัญหาวิจัย 2. กลุ่มตัวอย่างเป็นตัวแทนที่ดีของประชากร 2.1 ขนาดใหญ่ เหมาะสมกับสถิติวิเคราะห์ 2.2 ใช้วิธีการสุ่มในการเลือกหน่วยตัวอย่าง 2.3 จัดเข้ากลุ่มทดลองโดยการสุ่ม

การออกแบบเครื่องมือวิจัย มีการสร้างเครื่องมือวัดใหม่หลายชุด แต่ละชุด 1. มีมาตรฐานสูง 2. มีกระบวนการสร้างเครื่องมือชัดเจน ถูกต้อง 3. มีการตรวจสอบคุณภาพ และมีรายงาน เช่นความเที่ยง อำนาจจำแนก ความตรงเชิงเนื้อหา ความตรงเชิงโครงสร้าง

ลักษณะข้อมูลในการวิจัย มีตัวแปรตามมากกว่า 1 ตัว มีตัวแปรอิสระเป็น จำนวนมาก ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน สอดคล้องกับสมมุติฐานวิจัย 2. มีตัวแปรแทรกซ้อนที่มีการออกแบบการควบคุมความแปรปรวนเหมาะสม 3. มีนิยามเชิงทฤษฎี ถูกต้องตามหลักวิชาการ 4. มีนิยามเชิงปฏิบัติการที่ชัดเจน

การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล 1. เลือกใช้สถิติเหมาะสมกับปัญหาวิจัย 2. ใช้สถิติวิเคราะห์มากกว่า 1 วิธี ที่สามารถสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามจุดประสงค์ที่แตกต่างกันได้หลายแง่มุม 3. ใช้สถิติวิเคราะห์ที่สามารถนำตัวแปรหลายตัวมาวิเคราะห์ร่วมกันได้ เช่น ใช้ 3-way ANOVA แทนที่จะใช้ t-test หลายครั้ง

การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล 4. การใช้สถิติวิเคราะห์และการนำเสนอถูกต้อง 4.1 มีการตรวจสอบข้อตกลงเบื้องต้น 4.2 การนำเสนอผลการวิเคราะห์ครบสมบูรณ์ 4.3 มีการแปลความหมายผลการวิเคราะห์ ที่เชื่อมโยงกับปัญหาวิจัย (มิใช่เพียงแต่รายงานการอ่านค่าสถิติ)

การอภิปรายผลการวิเคราะห์ข้อมูล มีการสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลว่ายืนยันหรือปฏิเสธสมมุติฐานวิจัย อภิปรายเหตุผลที่ได้ผลการวิจัยตามที่สรุป อภิปรายความสอดคล้องระหว่างผลการวิจัยกับงานวิจัยในอดีต และทฤษฎีที่รายงานไว้ อภิปรายแนวทางการนำผลการวิจัยไปใช้ อภิปรายข้อจำกัดในการวิจัย

สรุปงานวิจัยที่เป็นแบบอย่าง/ผ่านการประเมิน เรื่องดีมีประโยชน์ ตรงความต้องการ เป็นนวัตกรรม 2. ประมวลเอกสารสมบูรณ์ มีสมมุติฐานวิจัย 3. งานวิจัยเชิงปริมาณ: experiment/causal survey res. 4. กลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ เหมาะสม ใช้กระบวนการสุ่ม 5. ตัวแปรจำนวนมาก ตรงปัญหา มีนิยามถูกต้อง 6. มีเครื่องมือสร้างใหม่หลายชุด มาตรฐานสูง 7. ใช้สถิติวิเคราะห์ให้ผลหลายแง่มุม ใช้และเสนอถูกต้อง 8. อภิปรายผลการวิเคราะห์ตามหลักวิชาการ

ปัญหาที่พบในงานวิจัยที่ไม่ผ่านการประเมิน ปัญหาวิจัยง่าย ซ้ำซ้อนกับงานที่มีอยู่ ไม่มีนวัตกรรม 2. ประมวลเอกสารแบบขนมชั้น ไม่มีสมมุติฐานวิจัย 3. งานวิจัยเชิงคุณภาพ วิจัยสำรวจเพื่อบรรยายสภาพ 4. กลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก ไม่มีการสุ่ม เลือกแบบเจาะจง 5. ตัวแปรน้อย และไม่เกี่ยวข้องกัน ขาดนิยาม 6. ใช้เครื่องมือเก่า ไม่เหมาะสม ไม่มีรายงานคุณภาพ 7. ใช้สถิติวิเคราะห์ไม่เหมาะสม (inflated error rate) 8. ไม่มีการอภิปรายผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ขอบคุณ