ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Advertisements

การเขียนบทความ.
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
บทเรียนโปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
คดี มาจากคำว่า คติ แปลว่า การไป การเคลื่อน แบบ
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Tuesdays with Morrie & หลายชีวิต
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
ทักษะภาษาไทยที่นักเรียนควรทราบ
เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
เทคนิคการพูดและการนำเสนอ
หลักการเขียนโน้มน้าวใจ ลักษณะของสารโน้มน้าวใจ
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
วิธีคิดวิธีวิเคราะห์ วิจารณ์งานประพันธ์จึง มีลักษณะดังนี้
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
แนวคิดในการทำวิจัย.
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
การฟังและการอ่านให้เกิดวิจารณญาณ
การอ่านเชิงวิเคราะห์
ความหมายของการวิจารณ์
จัดทำโดย 1. นาย ยุทธพิชัย ตินรัตน์ ม.5/6 เลขที่ 4 2. นาย สิรภพ พิกุลทอง ม.5/6 เลขที่ นาย พีระทัด นาคดิลก ม.5/6 เลขที่ นาย ภานุวัฒน์ เพ็งผอม.
แก่นเรื่อง.
หลักการแก้ปัญหา
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
การเขียน.
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การเขียนรายงาน.
การฟังเพลง.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การอ่านเชิงวิเคราะห์
องค์ประกอบของวรรณคดี
บทสนทนา การเดินเรื่อง มุมมองของกวี
การสร้างสรรค์บทละคร.
องค์ประกอบของบทละคร.
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
ความหมายของการวิจารณ์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
ทักษะการอ่าน.
เรื่อง การฟัง ดู คิดและพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
การเขียนรายงาน.
การเขียนบทวิจารณ์วรรณกรรม
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๔ ENL 3701
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์

แนวในการวิเคราะห์วรรณกรรม การวิเคราะห์วรรณกรรมมีหลักเกณฑ์การปฏิบัติอย่างกว้าง ทั้งนี้เพื่อให้ครอบคลุมงานเขียนทุกประเภท แต่ละประเภท ผู้วิเคราะห์ต้องนำแนวการวิเคราะห์ไปปรับใช้ ให้เหมาะสมกับงานเขียนแต่ละชิ้นงานซึ่งมีลักษณะแตกต่างกันไป ซึ่งประพันธ์ เรืองณรงค์ และคณะ (๒๕๔๕ : ๑๒๘) ได้ให้หลักเกณฑ์กว้าง ๆ ในการวิเคราะห์วรรณกรรม ดังนี้

แนวในการวิเคราะห์วรรณกรรม (ต่อ) ๒.๑ ความเป็นมาหรือประวัติของหนังสือและผู้แต่ง เพื่อช่วยให้วิเคราะห์ในส่วนอื่น ๆ ๒.๒ ลักษณะคำประพันธ์ ๒.๓ เรื่องย่อ ๒.๔ เนื้อเรื่อง ให้วิเคราะห์เรื่องในหัวข้อต่อไปนี้ตามลำดับ โดยบางหัวข้ออาจจะมี หรือไม่มีก็ได้ตามความจำเป็น เช่น โครงเรื่อง ตัวละคร ฉาก วิธีการแต่ง ลักษณะการเดินเรื่อง การใช้ถ้อยคำ สำนวนในเรื่องท่วงทำนองการแต่ง วิธีคิดสร้างสรรค์ ทัศนะหรือมุมมองของผู้เขียน เป็นต้น

แนวในการวิเคราะห์วรรณกรรม (ต่อ) ๒.๕ แนวคิด จุดมุ่งหมาย เจตนาของผู้เขียนที่ฝากไว้ในเรื่อง ซึ่งต้องวิเคราะห์ออกมาก ๒.๖ คุณค่าของวรรณกรรม โดยปกติแบ่งออกเป็น ๕ ด้านใหญ่ ๆ และกว้าง ๆ เพื่อความครอบคลุมในทุกประเด็น ซึ่งผู้วิเคราะห์ต้องไปแยกหัวข้อย่อยให้สอดคล้องกับลักษณะ ของหนังสือที่จะวิเคราะห์นั้น ๆ ตามความเหมาะสม

การวิเคราะห์คุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายของการวิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์ หมายถึง การพิจารณาองค์ประกอบทุกส่วน โดยวิธีแยกแยะรายละเอียดต่าง ๆ ตั้งแต่ถ้อยคำสำนวน การใช้คำ ใช้ประโยค ตลอดจนเนื้อเรื่องและแนวคิด ทุกอย่างที่ปรากฏอยู่ในข้อเขียนนั้น เมื่อวิเคราะห์ส่วนประกอบได้แล้ว จึงวิจารณ์ต่อไป

วิธีวิเคราะห์และวิจารณ์งานประพันธ์ ตามปกติแล้วเมื่อจะวิจารณ์สิ่งใด จำเป็นต้องเริ่มวิเคราะห์องค์ประกอบต่าง ๆ ให้เข้าใจ ชัดเจนเสียก่อนแล้วจึงวิจารณ์แสดงความเห็นออกมาอย่างมีเหตุผล ให้น่าคิด น่าฟังและ เป็นคำวิจารณ์ที่น่าเชื่อถือได้

วิธีวิเคราะห์และวิจารณ์งานประพันธ์ (ต่อ) การวิจารณ์งานประพันธ์สำหรับผู้เรียนที่เริ่มต้นฝึกหัดใหม่ ๆ นั้น อาจต้องใช้เวลาฝึกหัด มากสักหน่อย อ่านตัวอย่างงานวิจารณ์ของผู้อื่นมาก ๆ และบ่อย ๆ จะช่วยได้มากทีเดียว เมื่อตัวเราเริ่มฝึกวิจารณ์งานเขียนใด ๆ อาจจะวิเคราะห์ไม่ดี มีเหตุผลน้อยเกินไป คนอื่นเขาไม่เห็นด้วย เราก็ควรย้อนกลับมาอ่านเขียนนั้น ๆ อีกครั้งแล้วพิจารณาเพิ่มเติม

ประเด็นที่ใช้ในการวิเคราะห์และวิจารณ์คุณค่าของงานวรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์และวิจารณ์งานประพันธ์เท่าที่พบเห็นทั่ว ๆ ไป นักวิจารณ์นิยมพิจารณากว้าง ๆ ๔ ประเด็น ๑) คุณค่าด้านวรรณศิลป์ คือ ความไพเราะของบทประพันธ์ ซึ่งอาจทำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ ความรู้สึกและจินตนาการตามรส ความหมายของถ้อยคำและภาษาที่ผู้แต่งเลือกใช้ เพื่อให้มีความหมายกระทบใจผู้อ่าน ๒) คุณค่าด้านเนื้อหาสาระ แนวความคิดและกลวิธีนำเสนอทั้ง ๒ ประเด็นนี้ จะอธิบาย และยกตัวอย่างประกอบพอเข้าใจ โดยจะกล่าวควบกันไปทั้งการวิเคราะห์และการวิจารณ์

ประเด็นที่ใช้ในการวิเคราะห์และวิจารณ์คุณค่าของงานวรรณคดีและวรรณกรรม (ต่อ) ๓) คุณค่าด้านสังคม วรรณคดีและวรรณกรรมจะสะท้อนให้เห็นสภาพของสังคมและวรรณคดีที่ดีสามารถจรรโลงสังคมได้อีกด้วย ๔) การนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันผู้อ่านสามารถนำแนวคิดและประสบการณ์จากเรื่องที่อ่านไปประยุกต์ใช้หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้

Gracias