โครงสร้างของไฮโครเจนอะตอม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเคลื่อนที่.
Advertisements

สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
โครงสร้างทางคณิตศาสตร์และการให้เหตุผล (Mathematical Structure and Reasoning) Chanon Chuntra.
Photochemistry.
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
Electronic Transition
Conductors, dielectrics and capacitance
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 1. ในแต่คู่ต่อไปนี้ ไออนใดมีขนาดใหญ่กว่าและทำไมถึงเป็นเช่นนั้น ก. N3- and F- ข. Mg2+ and Ca2+ ค. Fe2+ and Fe3+ ง. K+ and Li+
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สรุป ทฤษฎี MOT : เป็นการสร้าง orbs ของ โมเลกุลขึ้นมาโดยใช้ valence AO’s ทั้งหมดของอะตอมในโมเลกุล, จำนวน MO’s ทั้งหมดที่ได้ = จำนวน AO’s ที่นำมาใช้ แต่ละ.
Molecular orbital theory : The ligand group orbital
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
โมเมนตัมและการชน.
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ ตอนที่ 6
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ตอนที่ 5
Rigid Body ตอน 2.
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
เลขควอนตัม (Quantum Numbers)
การทดลองที่ 3 สเปกโทรสโกป.
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
อสมการ.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบจําลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ด รัทเทอร์ ฟอร์ด พบว่ ารังสี ส่วนใหญ่ ไม่ เบี่ยงเบน และส่วนน้อยทีเบี่ยงเบนนั้น ทํามุมเบี่ยงเบนใหญ่ มากบางส่วนยังเบี่ยงเบนกลับทิศทางเดิมด้วย.
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
การวางแผนและการดำเนินงาน
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ความหมายและชนิดของคลื่น
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่17 พลังงานจากนิวเคลียส 1. อะตอมและนิวเคลียส 2. Nuclear Fission
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
บทที่ 13 แสงและฟิสิกส์ควอนตัม ปรากฎการณ์ 3 อย่างที่ สนับสนุนแนวคิดของ
บทที่ 16 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 1. การค้นพบนิวเคลียส
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
แบบจำลองอะตอมของ Bohr
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
อะตอมและ โครงสร้างอะตอม (Atom and Structure of Atom) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2 ว / 2550.
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
ยูเรนัส (Uranus).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
มหัศจรรย์แห่งอะตอม 1 ตอน 1 โครงสร้างอะตอม อ.ถนอมจิตต์ เสนมา ร.ร.เตรียมอุดมศึกษา.
พันธะเคมี.
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
กลุ่ม คาวาอี้ ~~ จัดทำโดย ชั้น ม.4.11 นางสาว กรรณิการ์ ใจวัง เลขที่ 7
CPE Project 1 บทที่ 2. ภาพรวม บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ ทฤษฎี (theory) = สมมติฐานที่ได้รับการตรวจสอบ และทดลองหลายครั้งหลายหนจนสามารถอธิบาย ข้อเท็จจริงสามารถคาดคะเนทำนายสิ่งที่เกี่ยวข้อง.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างของไฮโครเจนอะตอม บทที่ 15 โครงสร้างของไฮโครเจนอะตอม Paschen m=3 ระดับ พลังงาน m = 2 Balmer m = 1 Lyman

1) ทฤษฎีของบอร์ (The Bohr Theory) 1.1 ข้อสมมติฐานของสภาวะคงตัว (The postulate of stationary states) ไฮโดรเจนอะตอม จะอยู่ในสภาวะคงตัว (stationary state) ใดคงตั วหนึ่งที่มีระดับพลังงานที่แน่นอน (well define energy) ได้เป็นเวลานานพอสมควร โดยไม่จ ำเป็นต้องปลดปล่อยพลังงานออกมา

1.2 ) ข้อ สมมติ ฐ านทางความถี่ (The frequency postulate) อะตอมจะดูดกลืน (absorb)/ ปลดปล่อย (emit) พลังงานเฉพาะ ในกรณีที่อะตอมเปลี่ยน สภาวะจาก สภาวะคง ตัว หนึ่งไปสู่สภาวะคงตัวอีก สภาวะหนึ่งเท่านั้น

เงื่อนไขเพิ่มเติมที่ สำคัญของ Bohr ปริมาณโมเมนตัมเชิงมุม ของอิเล็กตรอนก็จะมีค่าเป็นช่วง ๆ (quantized) นั่นคือ เมื่อ (อ่านว่า "เอช-บาร์" "h - bar") และ n = 1, 2, 3,...

ซึ่งเงื่อนไข นี้ สอดคล้อง กับ ความคิดของ เดอบรอย ที่เสนอ ภายหลังว่าวงโคจรของ อิเล็กตรอนจะเป็นจำนวน เท่าของความยาว คลื่นเดอบรอย

ทฤษฎี ของบอร์ (The Bohr Theory) ข้อสรุปจาก ทฤษฎี ของบอร์ (The Bohr Theory)

The correspondence principle นอกจากข้อสรุปดังกล่าวเกี่ยวกับระดับพลังของ อะตอมไฮโดรเจนแล้ว Bohr ยัง เสนอว่า “ ทฤษฎี quantum จะ สอดคล้องกับ ทฤษฎีฟิสิกส์ดั้งเดิม (classical physics) เมื่อ quantum number (n) มีค่า มากๆ”

2. อนุกรมสเปกตรัม (Spectrum series) อธิบาย แถบสเปกตรัมที่เกิดขึ้น ว่าสัมพันธ์กันความยาวคลื่น อย่างไร

โดยอนุกรมของสเปกตรัม จะตั้งชื่อเป็นเกียรติแก่ผู้พบดังนี้ m=1; Lyman series m=2; Balmer series m=3; Paschen series เมื่อ m, n = จำนวนเต็มบวก R = 1.097 x 107 m-1

ตัว อย่าง จากอนุกรมของ Paschen จงหาความยาวคลื่นของแถบสเปกตรัมเส้น ที่ 5 m = 3 n = 8 Spectrum ที่ 5 Spectrum ที่ 1 2 3 n = 4 = 5 = 6 = 7

Hydrogen Atom and Schrodinger’s Equation แก้สมการใน 3 มิติ ได้ ค่า quantum number 3 ค่า คือ n : เกี่ยวข้องกับระดับพลังงาน ( principal quantum number)

: เกี่ยวข้องกับโมเมนตัมเชิงมุม (orbital quantum number) : เกี่ยวข้องกับโมเมนตัมเชิงมุม (orbital quantum number) : orbital magnetic quantum number

ถ้ารวมกับผลของ ทฤษฎีสัมพัทธภาพ แล้วแ ก้สมการออกมา ซึ่งกระทำ โดย P.A.M. Dirac) พบว่า มีค่า quantum number อีก 1 ค่านั่นคือ ms : spin magnetic quantum number

โมเมนตัมเชิงมุม โมเมนตัมเชิงมุม เป็นปริมาณเวกเตอร์ ที่มีทั้งขนาด และทิศทาง ผลจากการ คำนวณ ปรากฏว่า โมเมนตัมเชิงมุม ในอะตอมไฮโดรเจน มีลักษณะ เป็นปริมาณที่ไม่ต่อเนื่อง (quantized) ทั้ง ขนาดและทิศทาง

- ปริมาณ ของโมเมนตัมเชิงมุม - ทิศทาง ของโมเมนตัมเชิงมุม

มุม q ระหว่าง และ z axis

z 3 2 1 ml -1 -2 -3

โมเมนตัมเชิงมุมและแม่เหล็ก อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ในวงโคจร จะ เหนี่ยวนำ ให้เกิดสนาม แม่เหล็กเกิดเป็น Magnetic Dipole ขึ้นโดยใช้ สัญลักษณ์

Bohr Mageton

The Stern-Gerlach Experiment เป็นการทดลองที่แสดงว่าอิเล็กตรอน ในวงโคจรรอบ ๆ นิวเคลียสมี spin การทดลอง ที่โดยเผา โลหะเงินจนเป็นไอแล้วฉีดผ่านระหว่างสนามแม่เหล็กให้ไปจับบนแผ่นแก้วพบว่า เมื่อเปิดให้สนามแม่เหล็กทำงานลำของอะตอมธาตุเงินจะแยกเป็น 2 ลำ แล้วไปตกแยกจากกันบนแผ่นแก้ว

Pauli อธิบายปรากฏการณ์ นี้ ว่า เกิดจากการที่อิเล็กตรอนมี spinหรือการหมุนรอบตัวเอง ซึ่งสมมติฐานนี้ภายหลังได้ยืนยัน โดยการคำนวณของ Dirac ซึ่ง พบว่า เมื่อใช้ทฤษฎีสัมพัทธภาพ คำนวณ ร่วมกับ สมการชเรอดิงเงอร์ ก็จะได้ผลสอดคล้องตาม ที่ Pauli เสนอไว้

หลักการกีดกันของเพาลี (Pauli's Exclusion principle) "อะตอมที่มีอิเล็กตรอนหลายตัว อิเล็กตรอน เหล่า นั้น จะไม่ มีโอกาสซ้อนอยู่ในสภาวะ เดียวกัน"

ทำให้สรุปได้ว่า

นอกจากนั้นแล้ว Pauli ยังได้เสนอว่า ที่แต่ละค่าของ และ จะมีอิเล็กตรอนอยู่ ได้เพียง แค่ 1 ตัวเท่านั้น

สรุป quantum number

ดังนั้น ถ้ าบอก n มาให้จากหลัก ของ Pauli เราจะสามารถหา จำนวนอิเล็กตรอนในชั้นนั้นได้ จาก จำนวน อิเล็กตรอน = จำนวนสภาวะ = 2 n 2

จำนวน อิเล็กตรอน = 2n2 = 2(4) = 8 l = 0 l = 1 ml = 0 ml = 0 ml = 1 ml = -1