คำแนะนำการออกกำลังกาย ในผู้ที่มีปัญหาสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

หลักการออกกำลังกายและการเต้นแอโรบิก
การแนะนำการออกกำลังกายใน ภาวะความดันโลหิตสูง
การดูแลระยะตั้งครรภ์
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
การออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ 25/03/55.
ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
Global Recommendation for Physical Activity
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
การสั่งการออกกำลังกาย (EXERCISE PRESCRIPTION)
การทดสอบก่อนการออกกำลังกาย (EXERCISE TESTING)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (EXERCISE FOR THE ELDERLY)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
โรคอ้วนและการออกกำลังกาย
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
(Exercise for the Elderly)
โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
รายงานเรื่อง เบาหวาน จัดทำโดย ด.ช.พงศกร พรมวงษ์ ม.1/5 เลขที่ 29
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
ข้อเท็จจริงที่ควรรู้
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
การออกกำลังกายในคนอ้วน
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพและสมรรถภาพ
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
DPAC Module 6 Risk Management & Refer
น.พ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 23 มีนาคม 2552
แนวทางการปฏิบัติ การจัดการน้ำหนักและรอบเอว
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
ชุดเครื่องมือเดินเพื่อสุขภาพ
พัฒนารูปแบบการส่งเสริมการเคลื่อนไหวออกแรง/ ออกกำลังกายในสถานประกอบการ
กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน
แนวทางการจัดการข้อมูลโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย) ธัญภา จันทร์โท กลุ่มโรคไม่ติดต่อ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
- กลุ่มโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน Acute coronary syndrome (ACS)
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
การบูรณาการกับกิจกรรมเชิงรุก
GDM and Cervical cancer screening
การปรับเวลาของการบริหารยาให้เข้ากับรอบเวลาให้ยาปกติ
ข้อเสื่อม เรื่องของใคร
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ฯ 56 ทับเจริญ สำนักอนามัย
โรคเบาหวาน ภ.
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
เวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่การปฏิบัติ
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
กับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คำแนะนำการออกกำลังกาย ในผู้ที่มีปัญหาสุขภาพ ผศ. นพ. วิศาล คันธารัตนกุล แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์ อาจารย์พิเศษ คณะแพทยศาสตร์ รพ. รามาธิบดี ม.มหิดล

หัวข้อ ปัญหาสุขภาพก่อนออกกำลังกาย การออกกำลังกายในผู้ที่มีปัญหาสุขภาพ

ก่อนเป็นโรค เจ็บป่วย/เป็นโรค ภาวะสุขภาพ การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ การออกกำลังกายเพื่อการรักษา ความรู้ด้านการออกกำลังกาย ความรู้ด้านการออกกำลังกาย + โรค ความแนะนำที่เหมาะสม การตรวจประเมินที่เหมาะสม

แนวคิด สอบถามสุขภาพ และปัจจัยเสี่ยง พิจารณาอายุ และสมรรถภาพร่างกาย อายุมาก, สมรรถภาพต่ำมีปัจจัยเสี่ยง อายุน้อย, ไม่มีปัจจัยเสี่ยง ระวัง/ประเมินละเอียดหรือพบแพทย์ แนะนำการออกกำลังกายตามสมรรถภาพ

รายบุคคล ประเมินสุขภาพ:PAR-Q มีปัญหา แนะนำการออกกำลังกาย เมื่อมีปัญหาสุขภาพ ไม่มีปัญหา ประเมินสมรรถภาพ:ด้วยตนเอง/จนท. สร้างพฤติกรรม การออกกำลังกาย แนะนำการออกกำลังกายตามสมรรถภาพ ให้ความรู้ที่เหมาะสม - การบาดเจ็บ - รูปแบบการออกกำลังกาย(ทางเลือก)

กลุ่มที่ 1 การประเมินความเสี่ยงในผู้ที่เสมือนสุขภาพดี กลุ่มที่ 1 การประเมินความเสี่ยงในผู้ที่เสมือนสุขภาพดี เด็ก ผู้ใหญ่เพศชายอายุ < 45 ปี และ เพศหญิงอายุ < 55 ปี ไม่มีอาการของโรคหัวใจหรือปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ ผู้ใหญ่เพศชายอายุ > 45 ปี และ เพศหญิงอายุ > 55 ปี ไม่มีอาการของโรคหัวใจหรือมีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ < 2 ข้อ คำแนะนำ: ใช้ PARQ

ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะหลอดเลือดแข็งตัว ปัจจัยต้นเหตุ การสูบบุหรี่ ภาวะความดันโลหิตสูง ภาวะไขมันในเลือดสูง ภาวะไขมันในเลือดชนิด HDL ต่ำ โรคเบาหวาน

ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะหลอดเลือดแข็งตัว ปัจจัยหนุน ภาวะน้ำหนักเกินและความอ้วน การไม่ค่อยเคลื่อนไหว/ออกกำลังกาย เพศชาย ประวัติโรคหลอดเลือดหัวใจในครอบครัว ภาวะเศรษฐานะ ภาวะทางสังคมและจิตใจ ความผิดปกติของอินซูลิน

กลุ่มที่ 2: มีความเสี่ยง/เป็นโรคหัวใจ ทราบว่าเป็นโรคหัวใจ ผู้ใหญ่เพศชายอายุ > 45 ปี และ เพศหญิงอายุ > 55 ปี ไม่มีอาการของโรคหัวใจหรือมีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ < 2 ข้อ คำแนะนำ: หากออกกำลังกายอย่างหนัก ควรจะได้ทำการทดสอบสมรรถภาพหรือเริ่มการออกกำลังกายเบา ๆ

Metabolic Syndrome

Metabolic syndrome เกณฑ์วินิจฉัย: WHO 1999, NCEP ATPIII 2001, IDF 2005, AHA&NHLBI 2005 International Diabetes Federation (IDF): abdominal obesity + อย่างน้อย 2 ใน 4 ข้อ ( TG > 150 mg/dL, HDL-chol < 40 mg/dL in males or < 50 mg/dL in females, BP > 130/85 mmHg or on anti-HT drug, FBS > 100 mg/dL Abdominal obesity: รอบเอว > 90, 80 cm ในชายและหญิง ตามลำดับ

NCEP, ATP III JAMA 2001; 285 (19): 2486 - 2497

1000 2000 3000 Hypothetical Dose-Response for Exercise induced changes in selected CHD risk factors and CHD Response % Coronary Blood Flow 20 HDL-C 40 60 CHD Mortality 80 BP Insulin Resistance 100 1000 2000 3000 Dose (volume) of Exercise per Week (Kcal) Intensity x Duration x Frequency Source: Haskell (2001)

N Engl J Med 349;5 july 31, 2003

Value of EST in asymptomatic ind.

N Engl J Med 349;5 july 31, 2003

การทดสอบสมรรถภาพร่างกายพร้อมคลื่นไฟฟ้า ผู้ที่มีความเสี่ยงปานกลาง (ความเสี่ยงอยู่ระหว่าง 6 – 20 % ต่อปี) นั้นจำเป็นต้องการการทดสอบเพิ่มเติมโดยแนะนำการตรวจ 4 ชนิดคือ การทดสอบสมรรถภาพร่างกายพร้อมคลื่นไฟฟ้า การตรวจคลื่นความถี่สูงของเส้นเลือดคาโรติด การตรวจ coronary artery calcium score การตรวจ Ankle-Brachial Indexes (ABI) N Engl J Med 349;5 july 31, 2003

N Engl J Med 349;5 july 31, 2003

N Engl J Med 349;5 july 31, 2003

N Engl J Med 349;5 july 31, 2003

Ann Intern Med. 2004;140:W9-W24.

(Circulation. 2004;110:1920-1925.)

Exercise purposes Physiology & Bl. chem FATNESS FITNESS

FITNESS

Predicted likelihood of improved survival per 1-MET higher maximal exercise capacity Study Percent Blair, et al. (1989) 8 Dorn, et al. (1999) 8-14 Myers, et al. (2002) 12 CVD 9 Normal 16

Exercise to increase fitness เพิ่มความทนของระบบหัวใจหลอดเลือดและหายใจ (cardiorespiratory endurance) = Aerobic exercise F = ประมาณสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละนานกว่า 20 นาที I = ระดับชีพจรมากกว่าหรือเท่ากับ 50-75 % ของชีพจรสูงสุด กิจกรรมที่ทำต่อเนื่องและเหนื่อยจนพอคุยได้ (conversational dose) T = เดิน วิ่ง กระโดดเชือก ขี่จักรยาน ว่ายน้ำ เล่นกีฬาที่หนักปานกลาง

FATNESS Weight & BMI Body Fat

CVD risk in Asia-Pacific: abdominal obesity International Obesity TaskForce, Gill TP. Asia Pacific J Clin Nutr 2001; 10: 85-89

Treatment goal Weight reduction 10 % in 6 months Rate 1-2 lb/wk Energy def = 300-500 K/day a loss of between 26 and 52 pounds. However, the average weight loss actually observed over this time is between 20 and 25 pounds. A greater rate of weight loss does not yield a better result at the end of 1 year.

Calorie needs to lose weight ลดน้ำหนัก 1 กิโลกรัม จะต้อง กำไรการใช้พลังงานเท่ากับ 8000 แคลอรี หากต้องการลด 0.5 กก. ใน 10 วัน เท่ากับต้องการกำไรพลังงาน 400 กิโลแคลอรี: ลดการรับประทาน 200 กิโลแคลอรี เพิ่มการใช้พลังงาน 200 กิโลแคลอรี

Caloric deficit 400 kcal/day 300 200 200 100 100 200 200 300 400 300 400 200 200 200 100 200 200 200

การออกกำลังกายในผู้ป่วยภาวะกระดูกและกล้ามเนื้อ การออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวาน การออกกำลังกายในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง