งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การแนะนำการออกกำลังกายใน ภาวะความดันโลหิตสูง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การแนะนำการออกกำลังกายใน ภาวะความดันโลหิตสูง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การแนะนำการออกกำลังกายใน ภาวะความดันโลหิตสูง
ผศ. นพ. วิศาล คันธารัตนกุล หน่วยเวชศาสตร์ฟื้นฟูหัวใจ ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี

2 การออกกำลังกายในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิต Systolic Diastolic ม.ม. ปรอท ม.ม. ปรอท ปกติ < < 85 สูงกว่าปกติ ความดันโลหิตสูง ระยะที่ ระยะที่ ระยะที่ ระยะที่ > > 120

3 การรักษาในภาวะความดันโลหิตสูง
ความดันสูงกว่าปกติ: การปรับเปลี่ยนการดำรงชีวิตคือ อาหาร คุมน้ำหนัก และออกกำลังกาย ความดันระยะที่ 1: ใช้การปรับเปลี่ยนการดำรงชีวิตดู 3-6 เดือน ก่อนเริ่มใช้ยา ความดันระยะที่ 2: ใช้การปรับเปลี่ยนการดำรงชีวิต ได้หากไม่มีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ความดันระยะที่ 3 และ 4: จะต้องใช้ยาควบคุมความดันก่อนออกกำลังกายจริงจัง

4 ภาวะความดันโลหิตสูง เป็นความเสี่ยงต่อ หัวใจโตและหัวใจวาย
โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ภาวะทางไต หัวใจโตและหัวใจวาย หญิงสูงอายุเสี่ยงมากกว่าชาย 2 เท่า ไม่มีอาการ การควบคุมมีประโยชน์มากในผู้สูงอายุ

5 Estimate risk factor-disease relationships (BP & IHD)
RR [ UL LL ] 30-44 1.92 2.38 1.54 45-59 1.67 1.75 1.56 60-69 1.33 1.39 1.27 70-79 1.25 1.32 1.19 80+ 1.06 1.14 0.99 Age Groups

6 Estimate risk factor-disease relationships (BP & STROKE)
RR UL LL 30-44 2.38 2.63 2.13 45-59 2.00 2.04 1.92 60-69 1.56 1.61 1.52 70-79 1.37 1.43 1.32 80+ 1.20 1.28 1.14 Age Groups

7

8 ภาวะความดันโลหิตสูง ปัจจัยเสี่ยงต่อความดันโลหิตสูง ความอ้วน
การกินเกลือมาก การไม่ค่อยมีกิจกรรมทางกาย การดื่มของมีนเมา การทำงานที่ผิดปกติของอินซูลิน (มีความต้านทานเพิ่มขึ้น) มีผลต่อการเก็บโซเดียมที่ไต มีผลต่อการหลั่งอดรีนาลีน เพิ่ม tissue growth factor ทำให้เกิดการเก็บเกลือในเซลล์

9 การตอบสนองของร่างกาย ต่อการออกกำลังกาย
เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ เพิ่มปริมาณเลือดจากหัวใจ เพิ่มความดันซิสโตลิก โดยค่าไดแอสโตลิกไม่ปป. หรือคงที่ โดยทั่วไปจะเพิ่มประมาณ /60-85 ม.ม. ปรอท สูงมากขึ้นในผู้ที่เป็นความดันและยังไม่ได้ยา ออกกำลังกายแล้วความดันเพิ่มมาก เช่น มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตในอนาคต มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจในอนาคต

10 ผลของการออกกำลังกายใน ภาวะความดันโลหิตสูง
การลดปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจ จากการลดชีพจรในขณะทำงานหนี่งๆ การปรับตัวรับความดันในร่างกาย (baroreceptor) การลดความดันรวมของส่วนปลาย การลดระดับสารเรนิน และอดรีนาลีน ควบคุมและปรับระดับอินซูลินในเลือดให้เหมาะสม ?การลดลงของระดับไขมันที่สะสมในร่างกาย โดยเฉพาะที่พุง ?????การลดลงของน้ำหนัก

11 ผลของการออกกำลังกายใน ภาวะความดันโลหิตสูง
ผลของการออกกำลังกายต่อการควบคุมความดัน Meta-analysis มีการลดลงของค่าซิสโตลิก ม.ม. ปรอท มีการลดลงของค่าไดแอสโตลิก ม.ม. ปรอท หลายการศึกษาไม่พบว่าช่วยในการควบคุมความดัน ความดันโลหิตสูงบางกลุ่ม เช่น อ้วน จะเกิดประโยชน์ คำแนะนำถือเป็นส่วนเสริมในการควบคุมความดันโลหิตร่วมกับการปรับอาหาร

12 ภาวะความดันโลหิตสูง ข้อควรระวังในการลดอัตราเสี่ยงต่อภาวะหลอดเลือดหัวใจและสมอง ควรติดตามผลความดันโลหิตอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะรายที่ได้รับยา ไม่ควรให้ความดันโลหิตต่ำไป หรือสูงไป ประเมินปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอื่นๆ ชนิดของยาลดความดันโลหิตทมีความสำคัญมาก ยาขับปัสสาวาะ ยาต้านเบต้า

13 การปฏิบัติตัวในภาวะความดันโลหิตสูง
ลดน้ำหนักหากอ้วน ลดการดื่มของมีนเมาน้อยกว่า 1 เสิร์ฟต่อวัน ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ลดการกินเกลือลดให้น้อยกว่า 5 กรัมต่อวัน กินอาหารที่มีโปตัสเซี่ยม แคลเซี่ยมและแมกนีเซี่ยม ให้เพียงพอ หยุดสูบบุหรี่ ควบคุมระดับไขมันในเลือด

14 การออกกำลังกายในภาวะความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตมากกว่า 180/110 ปรอท ต้องได้ยาก่อน อายุ มากกว่า 40 ในชาย 50 ในหญิง หากมีประวัติความเสี่ยงต่อโรคหัวใจอื่นๆ ก่อนออกกำลังกายอย่างค่อนข้างหนัก แนะนำให้พบแพทย์ และตรวจประเมินสมรรถภาพหัวใจก่อน ไม่ควรออกกำลังด้วยการเกร็งหรือท่าอะไรที่ต้องมีการเกร็งค้างมาก การออกกำลังกายด้วยมือ และกำแน่น อาจทำให้ความดันโลหิตและชีพจรขึ้นสูงกว่าขาและแบบเคลื่อนไหว

15 การออกกำลังกายในภาวะความดันโลหิตสูง
ไม่ควรออกกำลังกาย ถ้าความดัน > 200/115 ม.ม. ปรอท ยาด้านเบต้า จะทำให้ผู้ป่วยความดันโลหิตออกกำลังกายได้น้อยลง หากไม่มีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตาย ( ชีพจรจะไม่เพิ่มเพื่อเพิ่มปริมาณเลือด) ยาความดันที่เหลือตัวอื่นๆ อาจจะทำให้มีความดันโลหิตต่ำหลังออกกำลังกาย

16

17

18 Earthquake struck LA area at 4:31 am. Jan 17; 1994
Leor J et al. N Engl J Med 1996; 334: 413-9

19 Stress & CHD: psychosocial risk factors National Heart Foundation of Australia. Bunker SJ. MJA 2003; 178: United States Preventive Service Task Force rating of evidence: A: good evidence of support (good quality positive reviews over null reviews) B: fair evidence of support (number of such reviews was small) C: poor evidence support (no clear preponderance of either positive or negative reviews

20 ซึมเศร้า ความโดดเดี่ยว วิบัติภัย วิบัติชีวิต โมหะ/โทสะ ลักษณะงาน ความกังวล ความกลัว


ดาวน์โหลด ppt การแนะนำการออกกำลังกายใน ภาวะความดันโลหิตสูง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google