z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
Advertisements

บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
การพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
งานนำเสนอวิชาคณิตศาสตร์ บทพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
การดำเนินการของลำดับ
โครงสร้างทางคณิตศาสตร์และการให้เหตุผล (Mathematical Structure and Reasoning) Chanon Chuntra.
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
ลำดับโคชี (Cauchy Sequences).
Number Theory (part 1) ง30301 คณิตศาสตร์ดิสครีต.
การแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอสเอ (Secret Sharing over RSA)
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
การบ้าน ข้อ 1 จงพิสูจน์ว่า
Welcome To Math 167 Presence by Chat Pankhao
CS Assembly Language Programming
เรื่อง ทฤษฎีบทปีทาโกรัส โดย.. ด.ญ.กรรณิการ์ รัตนกิจธำรง
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวัน (จำนวนเต็มบวก) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางพรเรียง ก๋งแก้ว สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนสัตหีบวิทยาคม.
การเรียงสับเปลี่ยนและทฤษฎีการจัดหมู่
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ลิมิตและความต่อเนื่อง
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
การพิจารณาจำนวนเฉพาะ
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
ทฤษฎีบททวินาม (Binomial Theorem)
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
(Tiling Deficient Boards with Trominoes)
การพัฒนาสมการไดโอแฟนไทน์กำลังสอง
เทคนิคการตั้งคำถามที่ดี (Using Effective Question Techniques)
การให้เหตุผล การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญ มี 2 วิธี ได้แก่
ตัวประกอบ (Factor) 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
วงรี ( Ellipse).
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
บทที่ 5 รหัสควบคุมและ การคำนวณ C Programming C-Programming.
มนุษย์รู้จักใช้การให้เหตุผล เพื่อสนับสนุนความเชื่อ หรือเพื่อหาความจริง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

4. z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 )

พิสูจน์ (  ) ให้ z  1 ( mod 2 ) จะมี a  I ที่ซึ่ง z - 1 = 2a ดังนั้น z2 = ( 2a + 1 )2 = 4a2 + 4a + 1 = 1 + 2 ( 2a2 + 2a ) จะได้ว่า z2 - 1 = 2 ( 2a2 + 2a ) นั่นคือ z2  1 ( mod 2 )

z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 ) จะมี a  I ที่ซึ่ง z = 2a นั่นคือ z2 = 4a2 = 2 ( 2a2 ) ดังนั้น z2  1 ( mod 2 ) เพราะฉะนั้นจะได้ว่า z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 )

ย้อนกลับไปที่สมการ ( 3 ) x2 + p = 2n ถ้า (x, n) เป็นผลเฉลยของสมการแล้ว x ต้องเป็นจำนวนเต็มคี่ ซึ่งเป็นไปตามทฤษฎีบทประกอบต่อไปนี้

ทฤษฎีบทประกอบ 1 ให้ p เป็นจำนวนเฉพาะคี่ที่มากกว่าหรือเท่ากับ 3 ถ้า ( x0 , n0 ) เป็นผลเฉลยของสมการ x2 + p = 2n แล้วจะได้ว่า x0 จะเป็นจำนวนเต็มคี่

พิสูจน์ ให้ ( x0 , n0 ) เป็นผลเฉลยของสมการ x2 + p = 2n ดังนั้น x02 + p = 2n0 นั่นคือ x02 = 2n0 - p …………… ( 1 ) จาก p เป็นจำนวนเฉพาะคี่ จะได้ว่า p  1 ( mod 2 ) และ 2n0  0 ( mod 2 )

ดังนั้น 2n0 - p  0 - 1 ( mod 2 ) 2n0 - p  - 1 ( mod 2 ) จาก ( 1 ) จะได้ว่า x02  - 1 ( mod 2 ) ดังนั้น x02  1 ( mod 2 ) ( โดยสมบัติของคอนกรูเอนซ์ ข้อ 4 ) จะได้ว่า x0  1 ( mod 2 ) นั่นคือ x0 เป็นจำนวนเต็มคี่

ทฤษฎีบทประกอบ 2 ถ้า y เป็น จำนวนเต็มคี่ แล้ว y 2  1 ( mod 8 )

พิสูจน์ เนื่องจากเราใช้ตัวเลขในมอดุโล 8 จึงเป็นการเพียงพอที่จะพิจารณาเฉพาะจำนวนเต็ม 0 , 1 , 2 , … , 7 เพราะจำนวนเต็มใดๆจะคอนกรูเอนซ์กับจำนวนใดจำนวนหนึ่งของจำนวนเหล่านี้มอดุโล 8 จาก y เป็นจำนวนคี่ จะเห็นว่า y คอนกรูเอนซ์กับจำนวน 1 , 3 , 5 หรือ 7 มอดุโล 8

เนื่องจาก ถ้า y  1 (mod 8) แล้ว y2  1 . 1 = 1  1 ( mod 8 ) ถ้า y  3 (mod 8) แล้ว y2  3 . 3 = 9  1 ( mod 8 ) ถ้า y  5 (mod 8) แล้ว y2  5 . 5 = 25  1 ( mod 8 ) ถ้า y  7 (mod 8) แล้ว y2  7 . 7 = 49  1 ( mod 8 ) ดังนั้น y2  1 ( mod 8 )

Proposition ให้ p เป็นจำนวนเฉพาะคี่ที่ไม่คอนกรูเอนซ์กับ 7 มอดุโล 8 ถ้า p = 3 แล้ว สมการ ( 3 ) จะมีเฉลยเพียงผลเฉลยเดียวคือ ( 1 , 2 ) ไม่เช่นนั้นสมการ ( 3 ) จะไม่มีผลเฉลย x2 + p = 2 n

พิสูจน์ พิจารณาสมการ x2 + p = 2n p เป็นจำนวนเฉพาะคี่ที่มากกว่าหรือเท่ากับ 3 กรณีที่ 1 ให้ n = 1 จะได้ x2 + p = 2 เพราะว่า p > 3 เห็นได้ชัดว่า ไม่มีจำนวนเต็ม x0 ใดๆที่ทำให้ x02 + p = 2

กรณีที่ 2 ให้ n = 2 จะได้ x2 + p = 4 เมื่อ p = 3 จะมีผลเฉลยเดียว คือ ( 1 , 2 ) ถ้า p > 3 จะไม่มีจำนวนเต็ม x0 ที่ทำให้ x02 + p = 4

กรณีที่ 3 ถ้า n > 3 กำหนดให้ n = 3 + k ดังนั้น 2n = 2 3 + k = 2 3 . 2 k = 8 . 2 k นั่นคือ 2 n หารด้วย 8 ลงตัว จะได้ว่า 2 n  0 ( mod 8 )

สมมติว่าสมการ ( 3 ) มีผลเฉลย คือ ( x0 , n0 ) โดยที่ n0 > 3 ดังนั้น x02 + p = 2 n พิจารณาสมการมอดุโล 8 ให้ x02 + p  0 ( mod 8 ) x02  - p ( mod 8 ) โดยทฤษฎีบทประกอบ 1 x0 เป็นคำตอบของสมการ x2 + p = 2 n จะได้ว่า x0 จะต้องเป็นจำนวนคี่

แต่เราสมมุติไว้ว่า p ไม่คอนกรูเอนซ์กับ 7 มอดุโล 8 ดังนั้น x02  1 ( mod 8 ) ( โดยทฤษฎีบทประกอบ 2 ) นั่นคือ - p  1 ( mod 8 ) ดังนั้น p  7 ( mod 8 ) แต่เราสมมุติไว้ว่า p ไม่คอนกรูเอนซ์กับ 7 มอดุโล 8 จึงสรุปได้ว่าสมการไม่มีคำตอบ

สรุป หลังจากที่ได้พิจารณาสมการ x2 + p = 2 n ได้บทสรุปคือ

1. ถ้าสมการจะมี ( x0 , n0 ) เป็นผลเฉลย แล้ว x0 จะต้องเป็นจำนวนเต็มคี่ และ x02  1 ( mod 8 ) 2. ถ้า p = 3 แล้ว x 2 + 3 = 2 n มีผลเฉลยเพียงผลเฉลยเดียว คือ ( 1 , 2 ) 3. ถ้า p เป็นจำนวนเฉพาะคี่ที่มากกว่า 3 และ p ไม่คอนกรูเอนซ์กับ 7 มอดุโล 8 แล้วสมการ ( 3 ) จะไม่มีผลเฉลย

ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในการคำนวณ

ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในการคำนวณ

THE END