การพัฒนาสมการไดโอแฟนไทน์กำลังสอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางสาวนภัสญาณ์ ไก่งาม
Advertisements

อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
งานนำเสนอวิชาคณิตศาสตร์ บทพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
(Some Extension of Limit Concept)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
การดำเนินการของลำดับ
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
ลำดับโคชี (Cauchy Sequences).
ลิมิตที่อนันต์และ ลิมิตค่าอนันต์
การบ้าน ข้อ 1 จงพิสูจน์ว่า
เรื่อง ทฤษฎีบทปีทาโกรัส โดย.. ด.ญ.กรรณิการ์ รัตนกิจธำรง
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
We well check the answer
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
ลิมิตและความต่อเนื่อง
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
คำศัพท์ที่น่าสนใจใน A5
บทพิสูจน์ต่างๆทางคณิตศาสตร์
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เศษส่วน.
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
การพิจารณาจำนวนเฉพาะ
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
ทฤษฎีบททวินาม (Binomial Theorem)
พีชคณิตบูลีน และการออกแบบวงจรลอจิก (Boolean Algebra and Design of Logic Circuit)
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
(Tiling Deficient Boards with Trominoes)
z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 )
การให้เหตุผล การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญ มี 2 วิธี ได้แก่
ตัวประกอบ (Factor) 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
Set Operations การกระทำระหว่างเซต
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
มนุษย์รู้จักใช้การให้เหตุผล เพื่อสนับสนุนความเชื่อ หรือเพื่อหาความจริง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาสมการไดโอแฟนไทน์กำลังสอง x2 + p = 2n

น.ส.ณัฐกานต์ มนัสพาสน์เกษม จัดทำโดย น.ส.ณัฐกานต์ มนัสพาสน์เกษม อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์กรรณิกา คงสาคร

การพัฒนาสมการไดโอแฟนไทน์กำลังสอง x2+ p = 2n ในสาขาของทฤษฎีจำนวนมักจะมีความเกี่ยวข้องกับการหาผลเฉลยที่เป็นจำนวนเต็มของสมการพีชคณิตที่มีมากกว่าหรือเท่ากับสองตัวแปร พีชคณิตของกรีกและทฤษฎีจำนวนนับว่ามีบทบาทสำคัญที่ก่อ ให้เกิดหนังสือ Arithmetica ซึ่งเขียนโดย Diophantus

( Diophantine equations ) Diophantus สนใจที่จะหาคำตอบที่แท้จริงมากกว่า คำตอบที่เป็นค่าโดยประมาณ เขาสนใจที่จะหาคำตอบที่เป็นจำนวนเต็มหรือจำนวนตรรกยะของสมการพหุนามในหนึ่งตัวแปรหรือที่มากกว่านั้น ซึ่งเรียกสมการประเภทนี้ว่า สมการไดโอแฟนไทน์ ( Diophantine equations )

Pierre de Fermat ได้พัฒนาทฤษฎีบทจำนวนมากในทฤษฎีจำนวน หลังจากที่เขาได้อ่านหนังสือ Arithmetica ของ Diophantus ที่กล่าวถึงสมการของพีทาโกรัส ( Pythagorus ) ที่ว่า x2+ y2 = z2

Fermatได้เลียนแบบความคิดนี้แล้วเสนอเป็นทฤษฎีใหม่ขึ้นมา ที่รู้จักกันดีคือทฤษฎีบทสุดท้ายของ Fermat ( Fermat’s Last Theorem ) Fermat กล่าวว่าหากเรามีสมการ x n + y n = z n และ n เป็นจำนวนเต็มที่มีค่ามากกว่า 2 แล้ว เราจะไม่สามารถหา x , y , z ที่เป็นเลขจำนวนเต็มมาแทนลงในสมการข้างต้นได้เลย

นับจากอดีตจนถึงปัจจุบันยังไม่มีนักคณิตศาสตร์คนใดที่สามารถพิสูจน์ทฤษฎี บทนี้ได้อย่างสมบูรณ์

ตัวอย่างของสมการ Diophantine ที่รู้จักกันคือ x2 + 7 = 2n 1 ในปี 1913 S. Ramanujan นักคณิตศาสตร์ชาวอินเดียได้คาดเดาว่าสมการ (1) นี้น่าจะมีคำตอบเพียง 5 คำตอบเท่านั้นสำหรับจำนวนเต็ม ( x , n ) เมื่อ x = 1 , 3 , 5 , 11 , 181 และ n = 3 , 4 , 5 , 7 , 15 ตามลำดับ

เห็นได้ชัดว่าสมการ (1) นั้น x จะเป็นจำนวนเต็มคี่ ดังนั้นสมการ (1) นี้จึงสามารถเขียนได้ใหม่เป็น ( 2x – 1 ) 2 = 2n - 7 2 โดยที่คำตอบสำหรับ x เป็น 1 , 2 , 3 , 6 และ 91 การคาดคะเนที่ว่าสมการนี้มี เพียง 5 ผลเฉลยนั้นยังคงเป็นปัญหาที่เปิดกว้างอยู่

ในที่นี้จะพิจารณาสมการในรูป x2 + p = 2n 3 เมื่อ p เป็นจำนวนเฉพาะใด ๆ

เนื่องจากคอนกรูเอนซ์เป็นวิธีที่สะดวกที่จะอธิบายการหารลงตัวในจำนวนเต็ม จึงมีประโยชน์มากที่จะแสดงให้เห็นว่าสมการ ( 3 ) นี้จะมีคำตอบหรือไม่ เราจะใช้วิธี การทางคณิตศาสตร์ ที่เกี่ยวกับมอดุโล ( modulo ) เพื่อจะสรุป และตรวจสอบว่าสมการนี้มีผลเฉลย หรือไม่

วิธีการ x2 + p = 2n พิจารณาสมการ สนใจผลเฉลยที่เป็นจำนวนเต็ม เมื่อ p เป็นจำนวนเฉพาะคี่ใดๆโดยกำหนดให้ผลเฉลยที่เป็นจำนวนเต็มของสมการอยู่ในรูป ( x0 , n0 )

ถ้า ( x0 , n0 ) เป็นคำตอบจะเห็นได้ชัดว่า ( - x0 , n0 ) จะเป็นคำตอบด้วย เนื่องจาก x02 = ( - x0 )2 ดังนั้นจึงจะพิจารณาเฉพาะ ( x , n ) ที่เป็นจำนวนเต็มบวกเท่านั้น

นิยาม ให้ m เป็นจำนวนเต็มบวก a และ b เป็นจำนวนเต็ม จะกล่าวว่า a คอนกรูเอนซ์กับ b มอดุโล m ถ้า m(a – b) และเรียก m ว่า มอดุลัส ( modulus ) เขียนแทนด้วย a  b ( mod m )

สมบัติของคอนกรูเอนซ์ ให้ a1 , a2 , b1 และ b2 เป็นจำนวนเต็มใดๆ 1. ถ้า a 1  b1 ( mod m ) และ a2  b2 ( mod m ) แล้ว a1 + a2  b1 + b2 ( mod m ) และ a1 - a2  b1 - b2 ( mod m )

เพราะว่า a1  b1 ( mod m ) และ a2  b2 ( mod m ) พิสูจน์ เพราะว่า a1  b1 ( mod m ) และ a2  b2 ( mod m ) จะมี c , d  I ที่ซึ่ง a1 - b1 = cm และ a2 - b2 = dm นั่นคือ a1 = b1 + cm และ a2 = b2 + dm a1 + a2 = b1 + b2 + cm + dm = b1 + b2+ ( c + d ) m ดังนั้น ( a1 + a2 ) - ( b1 + b2 ) = ( c + d ) m นั่นคือ a1 + a2  b1 + b2 ( mod m )

ในทำนองเดียวกัน a1 - a2 = b1 - b2 + cm - dm = b1 - b2 + ( c - d ) m ดังนั้น ( a1 - a2 ) - ( b1 - b2 ) = ( c - d ) m นั่นคือ a1 - a2  b1 - b2 ( mod m )

2. ถ้า a1  b1 ( mod m ) และ a2  b2 ( mod m ) แล้ว a1a2  b1 b2 ( mod m )

ให้ a1  b1 ( mod m ) และ a2  b2 ( mod m ) พิสูจน์ ให้ a1  b1 ( mod m ) และ a2  b2 ( mod m ) จะมี c , d  I ที่ซึ่ง a1 - b1 = cm และ a2 - b2 = dm นั่นคือ a1 = b1 + cm และ a2 = b2 + dm a1 a2 = ( b1 + cm ) ( b2 + dm ) = b1 b2 + b1dm + b2cm + cmdm = b1 b2 + ( b1d + b2c + cmd ) m จะได้ว่า a1b2 - b1b2 = ( b1d + b2c + cmd ) m ดังนั้น a1a2  b1 b2 ( mod m )

3. z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z เป็นจำนวนเต็มคี่

พิสูจน์ (  ) ให้ z  1 ( mod 2 ) จะมี a  I ที่ซึ่ง z - 1 = 2a นั่นคือ z = 2a + 1 ดังนั้นจะได้ว่า z เป็นจำนวนเต็มคี่

(  ) ให้ z เป็นจำนวนเต็มคี่ จะมี a  I ที่ซึ่ง z = 2a + 1 จะได้ว่า z  1 ( mod 2 ) NEXT