ผู้เข้าประชุมทุกท่าน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสุขภาพชุมชน 10 มิถุนายน 2555.
Advertisements

(ร่าง) แผนรองรับการส่งต่อผู้ป่วยออกจากกรุงเทพมหานคร กรณีที่ตั้งรพ
กรอบนโยบาย แผนงาน/โครงการที่จะดำเนินการ
สถานการณ์ความยากจน ของประเทศไทย
วิสัยทัศน์ องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี 1.
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การแบ่งงานและหน้าที่ความรับผิดชอบ
แนวทางการดำเนินงานโครงการ SMART FARMER & SMART OFFICER
การประเมินเพื่อประกาศเกียรติคุณ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานระดับกลุ่มจังหวัดและระดับจังหวัด
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
สำนักวิชาการและแผนงาน
สำนักวิชาการและ แผนงาน. 2 ภาค / จังหวัด ไม่เข้าสู่กระบวนการ ใช้ประโยชน์ผิด วัตถุประสงค์ แผน ผลงาน แจ้ง เตือน ร้อยละแผน ผลงาน แจ้ง เตือน ร้อยละ รวมทั้งสิ้น.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ผลการตรวจสอบที่พักและรีสอร์ท ในเขตปฏิรูปที่ดิน
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
สรุปผลการปิดอำเภอ ปีงบประมาณ 2555 ศสท. สผส. สวผ..
แผนปฏิบัติการสำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัด พื้นที่ X-RAY ประจำปีงบประมาณ 2556 งาน / โครงการ / กิจกรรม จำนว น ช่าง สำรว จ จำนว น กล้อ ง ( เครื่ อง ) เพิ่ม.
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 0-5 ปี
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
ผลงาน กองทันตสาธารณสุข (ตุลาคม2548 – กรกฎาคม2549)
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แนวทางการประชุมกลุ่ม
ผลงาน ราย ผลงาน >20 ราย 13 จว. 16 แห่ง ขอนแก่น แพร่ นนทบุรี เชียงราย ลำปาง ปทุมธานี สระบุรี อ่างทอง สงขลา สุราษฎร์ ธานี ภูเก็ต หน่วยที่มี ผลงาน.
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ไพรินทร์ บุตรแสนลี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
ยุทธศาสตร์ที่ 2: ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น นำ KM ไปใช้ 1. ระดับศูนย์เขต 1.1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เสริมสร้างศักยภาพ ชมรมเด็กไทยทำได้ วันที่
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ เด็กวัยเรียนและเยาวชน
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การถ่ายโอนภารกิจให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการพัฒนามาตรการป้องกัน เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาเขตสุขภาพ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ความสุขคนไทย” ระหว่างวันที่ กันยายน 2554.
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
1 ประกาศคณะกรรมการกํากับ กิจการพลังงาน เรื่อง การแบงเขตพื้นที่ผูใช พลังงาน พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 14 มกราคม 2553.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สรุปผลการปิดอำเภอเป้าหมาย ปี 2556 ข้อมูล ณ วันที่ 30 เมษายน 2557 สวผ. ศสท. สผส. และ สจก.
สกลนครโมเดล.
เริ่ม ออก.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ( ฉบับที่ 7) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 30 พฤศจิกายน 2555.
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
สรุปผลการปิดอำเภอเป้าหมาย ปี 2556 ข้อมูล ณ วันที่ 15 พฤษภาคม 2557 สวผ. ศสท. สผส. และ สจก.
สรุปผลการปิดอำเภอเป้าหมาย ปี 2556 ข้อมูล ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2557 สวผ. ศสท. สผส. และ สจก.
สรุปผลการปิดอำเภอเป้าหมาย ปี 2556 ข้อมูล ณ วันที่ 1 กันยายน 2557 สวผ. ศสท. สผส. และ สจก.
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน ประเด็น พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้เข้าประชุมทุกท่าน ยินดีต้อนรับ ผู้เข้าประชุมทุกท่าน

ก้าวสู่ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชร โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย

กรมอนามัย “ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี”

องค์กรหลักในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ของประเทศ วิสัยทัศน์ องค์กรหลักในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ของประเทศ

พันธกิจ 1. การพัฒนา ผลักดัน และสนับสนุนให้เกิดนโยบาย และกฎหมายที่จำเป็น (Policy and Regulation Advocacy) 2. การผลิต พัฒนาองค์ความรู้ และนวัตกรรม (Innovation and Technical Development) 3. การถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการส่งเสริมสุขภาพให้กับเครือข่าย (Facilitation) 4. การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพให้เข้มแข็ง (System Capacity Building)

ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก ลดปัจจัยเสี่ยงในวัยเรียนและวัยรุ่น แก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ พัฒนาชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่ ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

ข้อมูลสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยง ในวัยเรียน และวัยรุ่น จากผลการสำรวจของกรมอนามัย ปี 2550

ภาวะการเจริญเติบโต จำแนกตามระดับการศึกษา ภาวะการเจริญเติบโต จำแนกตามระดับการศึกษา ร้อยละ รายงานการสำรวจภาวะสุขภาพนักเรียน ปี 2550 สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย

นักเรียนที่บริโภคอาหารเสี่ยงต่อการเป็น โรคอ้วนทุกวัน/เกือบทุกวัน นักเรียนที่บริโภคอาหารเสี่ยงต่อการเป็น โรคอ้วนทุกวัน/เกือบทุกวัน ร้อยละ รายงานการสำรวจภาวะสุขภาพนักเรียน ปี 2550 สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย

นักเรียนที่ดื่มเครื่องดื่มชนิดต่าง ๆ ทุกวัน/เกือบทุกวัน นักเรียนที่ดื่มเครื่องดื่มชนิดต่าง ๆ ทุกวัน/เกือบทุกวัน ร้อยละ รายงานการสำรวจภาวะสุขภาพนักเรียน ปี 2550 สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย

นักเรียนที่ดื่มนมประเภทต่าง ๆ ทุกวัน/เกือบทุกวัน นักเรียนที่ดื่มนมประเภทต่าง ๆ ทุกวัน/เกือบทุกวัน ร้อยละ รายงานการสำรวจภาวะสุขภาพนักเรียน ปี 2550 สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย

พฤติกรรมเสี่ยงด้านเพศและสารเสพติด ความรุนแรง และอุบัติเหตุ พฤติกรรมเสี่ยงด้านเพศและสารเสพติด ความรุนแรง และอุบัติเหตุ ร้อยละ รายงานการสำรวจภาวะสุขภาพนักเรียน ปี 2550 สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย

ปัญหาอื่น ๆ มีความรู้สึกอ้างว้างโดดเดี่ยวเสมอ ๆ 8.1 % เคยมีความคิดจริงจังในการฆ่าตัวตาย 8.5 % ไม่ได้เข้าห้องเรียน / ไม่ได้ไปโรงเรียน 18.2 % พ่อแม่ผู้ปกครองไม่รู้ว่านักเรียนทำอะไรในเวลาว่าง 26.5 % อุบัติเหตุจากมอเตอร์ไซด์ 8.4 – 14.5 %

นโยบายการส่งเสริมสุขภาพ ในโรงเรียน

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ กับการพัฒนาสุขภาพนักเรียน ลดปัจจัยเสี่ยงวัยเรียนวัยรุ่น โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ กับการพัฒนาสุขภาพนักเรียน ใช้โรงเรียนเป็นจุดเริ่มต้น และศูนย์กลางการดูแลสุขภาพของนักเรียน บุคลากรในโรงเรียน ตลอดจนคนในชุมชน

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สนง.คณะกรรมการอาหารและยา พันธมิตรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสุขภาพนักเรียน กระทรวงสาธารณสุข กรมอนามัย โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เด็กไทยทำได้ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สุขบัญญัติแห่งชาติ สนง.คณะกรรมการอาหารและยา อย.น้อย กรมควบคุมโรค หนอนพยาธิ มาลาเรีย ไข้เลือดออก EPI AIDS โรคระบาด โรคติดเชื้อในโรงเรียน กรมสุขภาพจิต สุขภาพจิตในโรงเรียน IQ, EQ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน To be No. 1 กรมการแพทย์ ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเยาวชนติดยาเสพติด

สถานการณ์การดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

ร้อยละ เป้าหมาย และโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ปี ร้อยละ เป้าหมาย และโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละของโรงเรียนที่ผ่านเกณฑ์ประเมินกระบวนการ 2544 2545 50 / 32.0 % 60 / 83.8% 9.3 22.6 ร้อยละของโรงเรียนที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 2546 70 / 89.2 % 35.8 2547 80 / 92.0 % 51.3 2548 90 / 94.2 % 68.2 2549 90 / 94.8 % 88.8 2550 90 / 96.0 % 91.9 2551 90 / 97.2 % 93.2 2552 90 / 99.2 % 94.1 18

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร ปี 2552 ผ่านเกณฑ์ จำนวนรวม 37 โรงเรียน ตราด จันทบุรี ระยอง ชลบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี อำนาจเจริญ มุกดาหาร นครพนม สกลนคร กาฬสินธุ์ ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ชัยภูมิ เลย หนองบัวลำภู อุดรธานี หนองคาย น่าน พะเยา เชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง ตาก ลำพูน แพร่ อุตรดิตถ์ สุโขทัย กำแพงเพชร พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์ นครสวรรค์ กาญจนบุรี อุทัยธานี ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง พัทลุง สงขลา สตูล นราธิวาส ยะลา ปัตตานี สุพรรณบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง นนทบุรี กรุงเทพฯ ส.ปราการ ส.สงคราม ส.สาคร ยโสธร อยุธยา นครปฐม ปทุมธานี นครนายก 1 ศอ.10 1 2 1 1 ศอ.6 ศอ.9 1 1 1 1 ผ่านเกณฑ์ จำนวนรวม 37 โรงเรียน ศอ.8 1 1 1 ศอ.5 1 ศอ.7 ศอ.2 จำนวน ร.ร. 1 2 1 1 1 1 1 เป้าหมาย ศอ. ละ 3 ร.ร. ศอ.4 ศอ.1 1 1 ศอ.3 3 1 1 1 1 1 ศอ.11 ศอ. 1 ศอ.12 1 1 2 19 19

โรงเรียนผ่านเกณฑ์โครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ปีงบประมาณ 2552 โรงเรียนผ่านเกณฑ์โครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ปีงบประมาณ 2552 ร้อยละ

ร้อยละของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการเด็กไทยทำได้ ในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ปีงบประมาณ 2552

อย. น้อย ปี 2552 จำนวนโรงเรียนที่ทำกิจกรรม 5,278 โรงเรียน แกนนำโรงเรียนละ 10 คน มี อย.น้อย จำนวนทั้งสิ้น 52,780 คน

พื้นที่เป้าหมาย ตามแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2550 - 2559 เชียงราย พะเยา เชียงใหม่ น่าน แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน แพร่ หนองคาย อุตรดิตถ์ เลย อุดรธานี สกลนคร นครพนม สุโขทัย หนองบัวลำภู พิษณุโลก ตาก ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร กำแพงเพชร พิจิตร เพชรบูรณ์ อำนาจเจริญ ชัยภูมิ มหาสารคาม ยโสธร นครสวรรค์ ร้อยเอ็ด อุทัยธานี ชัยนาท ลพบุรี อุบลราชธานี สิงห์บุรี สุพรรณบุรี สุรินทร์ อ่างทอง นครราชสีมา บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ กาญจนบุรี สระบุรี อยุธยา นครนายก นครปฐม ปทุมธานี นนทบุรี ปราจีนบุรี กรุงเทพฯ ส.สาคร ส.ปราการ ฉะเชิงเทรา สระแก้ว ราชบุรี ส.สงคราม ชลบุรี สัญญลักษณ์ กุล่มเป้าหมาย จำนวน (แห่ง) ร.ร.ตชด. 183 ร.ร.สพฐ. 178 ศศช.(กศน.) 266 ร.ร.พระปริยัติธรรม 33 ร.ร.สช. 15 รร.อบต. 6 ศูนย์ฯ เตาะแตะ 30 46 จังหวัด / รวมทั้งสิ้น 711 เพชรบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา กระบี่ นครศรีธรรมราช ภูเก็ต ตรัง พัทลุง สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส 23 23 23

ผลการประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน สังกัดกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ร้อยละ ที่มาของข้อมูล : กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน , 2551

ร้อยละของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียนสังกัด สพฐ. ในถิ่นทุรกันดารตามแผน กพด. ร้อยละ

พื้นที่เป้าหมายการพัฒนางานด้านสุขอนามัย เชียงราย 1 1 4 1 พะเยา 1 4 4 1 น่าน เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน 1 1 ลำปาง 1 ลำพูน แพร่ 1 1 หนองคาย อุตรดิตถ์ 1 1 1 1 เลย อุดรธานี สกลนคร นครพนม สุโขทัย หนองบัวลำภู 1 พิษณุโลก ตาก 1 1 1 1 1 ขอนแก่น กาฬสินธุ์ 1 มุกดาหาร กำแพงเพชร พิจิตร เพชรบูรณ์ 1 2 1 มหาสารคาม 1 1 1 ชัยภูมิ 1 ยโสธร อำนาจเจริญ นครสวรรค์ ร้อยเอ็ด 1 1 1 อุทัยธานี ชัยนาท ลพบุรี 1 2 1 1 1 1 นครราชสีมา 1 อุบลราชธานี 1 สิงห์บุรี สุพรรณบุรี สุรินทร์ อ่างทอง สระบุรี บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ 1 กาญจนบุรี 2 1 อยุธยา นครนายก นครปฐม ปทุมธานี นนทบุรี ปราจีนบุรี 1 1 1 กรุงเทพฯ 2 ส.สาคร 1 ส.ปราการ ฉะเชิงเทรา สระแก้ว ราชบุรี ส.สงคราม ชลบุรี 1 1 1 1 1 เพชรบุรี ระยอง จันทบุรี 1 1 ตราด 1 ประจวบคีรีขันธ์ พื้นที่เป้าหมายการพัฒนางานด้านสุขอนามัย ในโรงเรียนสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 1 ชุมพร 1 ระนอง 1 1 สุราษฎร์ธานี 1 1 1 พังงา นครศรีธรรมราช โรงเรียนเฉพาะความพิการ 43 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์/ ราชประชานุเคราะห์ 49 รวม 92 กระบี่ ภูเก็ต 2 1 1 1 1 ตรัง พัทลุง 1 สตูล 1 1 สงขลา ปัตตานี 2 1 ยะลา นราธิวาส 2 26 26

พื้นที่เป้าหมายการพัฒนางานด้านสุขอนามัย ในโรงเรียนสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ร้อยละ

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร ปี 2552 บทเรียนการประเมิน โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร ปี 2552 1) คำอธิบาย ความหมาย วิธีปฏิบัติ และการแปลผลของตัวชี้วัดไม่ชัดเจน ทำให้ตีความคลาดเคลื่อน เช่น SDQ, สมรรถภาพทางกาย, ตรวจคุณภาพน้ำดื่ม, โครงงาน/โครงการ อาหารและโภชนาการ ฯลฯ 2) ความเป็นมาตรฐานเดียวกันของผู้ประเมิน : ความรู้ความสามารถ ความน่าเชื่อถือ บุคลิกภาพ ฯลฯ 3) สภาพบริบทพื้นที่โรงเรียนแตกต่างกัน

แนวทางการพัฒนาเพื่อการประเมิน โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร ปี 2553 1) ทบทวนและพัฒนามาตรฐานการประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร ให้มีความถูกต้อง และชัดเจนมากยิ่งขึ้น 2) จัดเวทีชี้แจงสร้างความเข้าใจในแนวทาง การประเมิน 3) สร้างระบบ และทีมการประเมินแบบมีส่วนร่วม ที่เข้มแข็ง 4) ประชาสัมพันธ์ สรรค์สร้างสิ่งจูงใจ และ ขวัญกำลังใจ สำหรับโรงเรียน และผู้ปฏิบัติงาน ทุกระดับ

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชร

แนวคิด ยกระดับการพัฒนาของโรงเรียน มุ่งผลลัพธ์ทางสุขภาพมากขึ้น คำนึงถึงนโยบายที่สอดคล้อง กับฝ่ายการศึกษา บูรณาการงานด้านสุขภาพระหว่างกรม/กอง

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง นโยบาย / การบริหารจัดการ / โครงการร่วมโรงเรียนและชุมชน / การจัดสิ่งแวดล้อม / อนามัยโรงเรียน / สุขศึกษา / โภชนาการ / ออกกำลังกาย / การให้คำปรึกษา / ส่งเสริมสุขภาพ การดำเนินงานสุขภาพของนักเรียนแกนนำเช่น ชมรมเด็กไทยทำได้ / อย.น้อย / อสร./ ยสร. /To be # 1 1. ภาวะสุขภาพของ นร. - Wt / Ht - Ht / Age - Physical activity - Mental health - โครงงาน สส. / สว. 2. โครงการแก้ไขปัญหา ในโรงเรียน - ตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง - ต้นกล้าเศรษฐกิจ 3. นโยบาย กท.ศธ - น้ำดื่มสะอาดพอเพียง - สุขาน่าใช้ - โภชนาการ และ สุขาภิบาล (ลดหวาน มัน เค็ม ปลอดน้ำอัดลม) - ป้องกันบาดเจ็บ - ป้องกันสภาวะแวดล้อม เป็นพิษ - บุหรี่

มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชร ประกอบด้วย : มาตรฐาน 3 ด้าน 19 ตัวชี้วัด โรงเรียนที่ผ่านการประเมินเป็น “โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร” จะต้องผ่านเกณฑ์ประเมินครบ ทุกตัวชี้วัด ดังนี้ 33

มาตรฐานด้าน ตัวชี้วัด เกณฑ์ประเมิน 1. การดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 1. ผ่านการประเมินรับรอง เป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง ณ ปัจจุบัน (เป็นระดับทอง) 2. การดำเนินงานสุขภาพของนักเรียนแกนนำ 2. มีการจัดตั้งชมรมเด็กไทยทำได้ ชมรมสุขภาพอื่น ๆ ชุมนุมหรือแกนนำนักเรียนที่รวมตัวกันดำเนินกิจกรรมสุขภาพอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อย 6 เดือนขึ้นไป 3. มีโครงงานสุขภาพของนักเรียนที่ประสบผลสำเร็จชัดเจนในการลดปัญหาสุขภาพหรือสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและ/หรือชุมชน อย่างน้อย 1 เรื่อง 34

มาตรฐานด้าน ตัวชี้วัด เกณฑ์ประเมิน 3. ผลสำเร็จของการดำเนินงาน ดังนี้ 3.1 ภาวะสุขภาพ ของนักเรียน (Health Status) 4.1 นักเรียนมีน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง(W/H) เกินเกณฑ์ (เริ่มอ้วนและอ้วน) 4.2 นักเรียนมีส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ(H/A) ต่ำกว่าเกณฑ์ (ค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย) 5. นักเรียนไม่มีฟันผุและ ฟันแท้ไม่ถูกถอน ไม่เกินร้อยละ 7 ไม่เกินร้อยละ 5 - ไม่น้อยกว่า ร้อยละ45 (ประถมศึกษา)ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 35 (มัธยมศึกษา) 35

มาตรฐานด้าน ตัวชี้วัด เกณฑ์ประเมิน 3. ผลสำเร็จของการดำเนินงาน ดังนี้ 3.1 ภาวะสุขภาพ ของนักเรียน (Health Status) 6. นักเรียนมีสมรรถภาพกาย ผ่านเกณฑ์ ทั้ง 3 ด้าน 7. นักเรียนมีสุขภาพจิตดี(คะแนนรวมพฤติกรรม 4 ด้าน อยู่ในกลุ่มปกติ ร้อยละ 80 ขึ้นไป 3.2 โครงการ แก้ไขปัญหา ในโรงเรียน 8. มีโครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพที่มีความชุกสูงหรือเป็นอันตรายในเด็กวัยเรียน ได้เป็นผลสำเร็จ อย่างน้อย 1 โครงการ 36

มาตรฐานด้าน ตัวชี้วัด เกณฑ์ประเมิน 3. ผลสำเร็จของการดำเนินงาน ดังนี้ 3.3 งานตาม นโยบาย กระทรวง ศึกษาการ 3.3.1 น้ำดื่ม สะอาด และ เพียงพอ 9. น้ำดื่มบริการแก่นักเรียนผ่านเกณฑ์การตรวจวิเคราะห์ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภค กรมอนามัย ร.ร. ขนาดเล็ก อย่างน้อย 1 จุด ร.ร. ขนาดกลาง อย่างน้อย 2 จุด ร.ร. ขนาดใหญ่ อย่างน้อย 3 จุด (ทั้งนี้ ร.ร.ขนาดกลาง และใหญ่ ตรวจคุณภาพน้ำตามเกณฑ์กรมอนามัย 1 จุด ส่วนจุดที่ 2 และ 3 ตรวจเฉพาะด้านแบคทีเรีย) 10. น้ำดื่มเพียงพอ มีจุดบริการน้ำดื่ม 1 ที่ / นักเรียน 75 คน 37

มาตรฐานด้าน ตัวชี้วัด เกณฑ์ประเมิน 3. ผลสำเร็จของการดำเนินงาน ดังนี้ 3.3.2 สุขาน่าใช้ 11. ส้วมผ่านเกณฑ์มาตรฐาน HAS ทุกข้อ (16 ข้อ) 3.3.3 โภชนาการ และสุขาภิบาล อาหาร 12. ไม่จัดและจำหน่ายอาหารว่างหรือขนมที่มีไขมันสูงและรสเค็ม 13. ไม่จัดและจำหน่ายอาหารว่าง และเครื่องดื่มที่มีรสหวานจัด ทุกวันเปิดเรียน 38

มาตรฐานด้าน ตัวชี้วัด เกณฑ์ประเมิน 3. ผลสำเร็จของการดำเนินงาน ดังนี้ 3.3.3 โภชนาการ และสุขาภิบาล อาหาร 14. มีการส่งเสริมให้นักเรียนทุกคนได้บริโภคผักมื้อกลางวันทุกวันเปิดเรียนตามปริมาณที่แนะนำ 4 ช้อนกินข้าว/มื้อ/คน(สำหรับเด็กอายุ6-13ปี) 5 ช้อนกินข้าว/มื้อ/คน(สำหรับเด็กอายุ14-18ปีทุกข้อ(30ข้อ) 15. โรงอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน ทุกข้อ (30 ข้อ) 39

มาตรฐานด้าน ตัวชี้วัด เกณฑ์ประเมิน 3. ผลสำเร็จของการดำเนินงาน ดังนี้ 3.3.4 การป้องกัน อุบัติภัย 16. การบาดเจ็บในโรงเรียนจนทำให้นักเรียนต้องพักรักษาตัวในโรงพยาบาลในรอบปีที่ผ่านมา(นับจากวันประเมิน) ไม่มี 15. โรงอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน ทุกข้อ (30 ข้อ) 40

มาตรฐานด้าน ตัวชี้วัด เกณฑ์ประเมิน 3. ผลสำเร็จของการดำเนินงาน ดังนี้ 3.3.5 การป้องกัน สภาพแวดล้อม ที่เป็นมลพิษ 17. มีการจัดการแก้ไขปัญหาที่เกิดจากมลพิษภายนอกที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ ทุกปัญหา(ถ้ามี) 18. โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาล สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ทุกข้อ (30 ข้อ) 19. การสูบบุหรี่ในโรงเรียน ไม่มี 41

เป้าหมาย ปี 2553 โรงเรียนในฝัน 185 เขตพื้นที่การศึกษา เขตละ 1 โรงเรียน 12 ศูนย์อนามัย ๆ ละ 3 โรงเรียน รวมทั้งสิ้น 221 โรงเรียน 42

กระบวนการในการเข้าสู่การรับรองเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร สสจ.ร่วมกับ สพท. ชี้แจง โรงเรียนเข้าร่วมโครงการ โรงเรียนแจ้งความจำนง สมัครเข้าร่วมโครงการไปยังหน่วยงานต้นสังกัดในพื้นที่ โรงเรียนประเมินตนเองโดยคณะกรรมการส่งเสริมสุขภาพของโรงเรียน ผ่าน ไม่ผ่าน โรงเรียนพัฒนา เข้าสู่เกณฑ์ แจ้งความจำนงขอรับการประเมิน พร้อมเอกสาร / หลักฐาน ไปยังทีมประเมินระดับจังหวัด ล่วงหน้า 1 เดือน ประเมินเบื้องต้นก่อนรับรองเป็น โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร โดยกรมอนามัย ทีมประเมินระดับจังหวัดที่ผ่านการอบรมและรับรองจาก กรมอนามัย ศูนย์อนามัยตรวจสอบ และรับรอง กรมอนามัยตรวจสอบและรับรองเป็น โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร  การรับรอง มีอายุ 3 ปี นับจากวันที่ระบุในเกียรติบัตร

การสนับสนุนจากกระทรวงสาธารณสุข 1. สนับสนุนองค์ความรู้ 2. สื่อเผยแพร่ 3. การพัฒนาศักยภาพนักเรียนแกนนำ 4. บริการตรวจคุณภาพน้ำดื่ม 44 44

ค่าแห่งเพชร โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร ความสำเร็จที่วัดได้ไม่กังขา ผู้บริหารสานเสกสรรนำปัญญา คณะครูรู้คุณค่าพัฒนาจากใจ เก่งดีมีสุขเด็กทุกคนคือผลงาน ทำกิจการขานรับนับคล่องไว มุ่งเรียนรู้สู้ชีวิตจิตแจ่มใส ทุกข์ห่างไกลไขขานการกระทำ อาหารปลอดภัยสุขาน่าใช้ เด็กไทยฟันดีกลวิธีวิถีนำ ความพอเพียงเสียงพ่อขอจดจำ กุศลกรรมนำเด็กไทยกายใจสบาย อสร. ยสร. ก่อกำเนิดเกิดปฐม สร้างชมรมคมคิดมิตรหลากหลาย ทั้งเด็กไทยทำได้ปลอดยุงลาย มิตรสหายมากมีดีทุกคน ขอขอบคุณครูใหญ่จากใจใส ด้วยห่วงใยมุ่งพัฒนามหากุศล คณะครูคณะบริหารสานกมล รวบรวมพลสู่หนทางอย่างยั่งยืน ๚

สวัสดี 46