dc.go.th ท่านสามารถ Download –PowerPoints ( สามารถ download ได้แล้ว ) – บทบรรยาย – text – เสียงบรรยาย – วิดีโอ ได้ ภายในวันศุกร์หน้า.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
“ การส่งเสริมโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยสุขภาพดี ”
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
การจัดทำ Research Proposal
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
นพ. ทักษพล ธรรมรังสี แผนงานพัฒนาศักยภาพนักวิจัยด้านนโยบายแอลกอฮอล์
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 ราชบุรี
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง ดร.นพ.ณรงค์
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ศูนย์อำนวยการจราจร และลดอุบัติเหตุทางถนน ตำรวจภูธรจังหวัดบุรีรัมย์
กรอบการดำเนินงาน แผนงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
การนำเสนอคำของบดำเนินงานโครงการปี 2559
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
แผนงาน พัฒนาศักยภาพเครือข่าย เพื่อการขับเคลื่อนงาน อาหารและโภชนาการเชิง รุก โดย นายสง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ 9 กรมอนามัย.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา.
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

dc.go.th ท่านสามารถ Download –PowerPoints ( สามารถ download ได้แล้ว ) – บทบรรยาย – text – เสียงบรรยาย – วิดีโอ ได้ ภายในวันศุกร์หน้า

การจัดทำแผนปฏิบัติการพัฒนา ภาคีเครือข่าย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเฝ้า ระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ นพ. ธนรักษ์ ผลิพัฒน์ สำนักจัดการความรู้ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

ขอขอบคุณ แม่งาน : พี่จรูญ วิทยากรทุกท่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อ. สุจริต และพี่ศุภมิตร ผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุขและกรม ควบคุมโรคทุกท่าน ขอขอบคุณเจ้าภาพ สคร. 5 ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้าง สำนักจัดการความรู้ ผู้จัดทำและนำเสนอแผนทุกคน ผู้เข้าร่วมประชุมทุกๆ คน และทุกๆ คน ที่ช่วยให้งานนี้เป็นงานที่ อิ่มเต็มด้วยความรู้

Imagine what we could accomplish if nobody cared who got the credit

ภายใต้ระบบสุขภาพปัจจุบัน สุขภาพ เป็นหน้าที่ของใคร ผมเริ่มอ้วนแล้ว ( เช่นเดียวกับหลายคนที่ ทำงานที่สำนักเดียวกับผม ) ผมอยากมี สุขภาพดี ใครมีหน้าที่ทำอะไรบ้าง แล้วเขาจะ ทำให้ผมมีสุขภาพดีได้อย่างไร หวัดนกมาแล้ว ผมไม่อยากให้ผมและคนที่ ผมรักต้องป่วยด้วยไข้หวัดนก ใครมีหน้าที่ทำ อะไรบ้าง แล้วเขาจะทำให้ผมและคนที่ผมรัก ปลอดภัยจากไข้หวัดนกได้อย่างไร สงกรานต์นี้ผมจะขับรถไปเยี่ยมครอบครัวที่ จังหวัดกระบี่ ผมอยากอยากจะเดินทางไป & กลับอย่างปลอดภัย ใครมีหน้าที่ทำอะไรบ้าง แล้วเขาจะทำให้ผมและคนที่ผมรักเดินทาง อย่างปลอดภัยได้อย่างไร

เป็นหน้าที่ของหลายฝ่าย – ภาครัฐ : – ภาคเอกชน : – ภาคประชาชน – ประชาสังคม – รวมทั้งตัวเองด้วย ภายใต้ระบบสุขภาพปัจจุบัน สุขภาพ เป็นหน้าที่ของใคร

อะไรบ้างที่เกี่ยวกับกรม ควบคุมโรค ไข้หวัดนก อุบัติเหตุจราจร การบริโภคสุรา แอลกอฮอล์ HPV เอดส์ จุลชีพดื้อยา Legionaires' Disease ปอดบวม Intentional Injuries การบริโภคเกลือ HPV vaccine Sex education การใช้ยาปฏิชีวนะ เกิน

Mission กรมควบคุม โรค (2548) จัดวางเครือข่ายภาคีในการเฝ้า ระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ทั้งใน ระดับชาติ ภูมิภาค และท้องถิ่น

ความรู้สำหรับการทำงาน Know what Know how Know why Care why

การป้องกัน / ควบคุมโรค Primordial prevention Primary prevention Secondary prevention Tertiary prevention

Population Approach High risk Approach

New Universalism Membership is defined to include the entire population, i.e. it is compulsory. Universal coverage means coverage for all, not coverage of everything. Provider payment is not made by the patient at the time he or she uses the health service. Services may be offered by providers of all types.

การทำงาน / Competency ปิด Gap: ดูซิว่าเราไม่รู้อะไร แล้วไป ทำให้รู้ ( พัฒนาอย่างมีเป้าหมาย ) สำรวจว่าเรามีอะไร ใช้ทำอะไรได้บ้าง ( แก้ปัญหาเฉพาะหน้า ) I don’t care about what it’s designed to do? I care what it can do. เรามีคนไข้ที่ต้องผ่าการการผ่าตัด สมอง เราจะยอมให้สามล้อมาผ่าตัด สมองไม๊

ขั้นตอนการพัฒนานโยบาย / มาตรการ Disease Burden Effectiveness of an intervention –Systematic review / Meta- analysis Model development / Model program –Decision analysis –Cost-effectiveness National policy

กระบวนการนำนโยบาย / มาตรการสู่การปฏิบัติ KNOWLEDGE IS LIKE LIGHT. Weightless and intangible, it can easily travel the world, enlightening the lives of people everywhere. Yet billions of people still live in poverty unnecessarily. Knowledge about how to treat such a simple ailment as diarrhea has existed for centuries but millions of children continue to die from it because their parents do not know how to save them. ORT was developed in the late 1960s กฏหมาย

การทำงานกับเครือข่าย จะให้เครือข่ายในระดับใดทำอะไร ทีมฟุตบอล 1 ทีมมีคนหลายคน แต่ละคน ทำหน้าที่สอดประสานกัน โค้ช ปกติไม่ได้ลงเล่น แต่มีหน้าที่เตรียม นักกีฬาให้พร้อมที่สุด และคอยให้ คำแนะนำเพื่อการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า Approach: – เลือก Issue: 6 โรค, 2 พฤติกรรม, SRRT (Recommended) – เลือกพื้นที่

โครงการ ล้าน บาท OBJ ( เก็บไว้ในใจ ): เพื่อสร้างความ เข้มแข็งให้กับสคร. ในการทำงานเฝ้า ระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ภายใต้ กรอบการทำงานร่วมกับภาคี เครือข่าย OBJ 1: เพื่อผลักดันนโยบายและ มาตรการในการป้องกันโรคสู่การ ปฏิบัติ ผลผลิต : จำนวนเครือข่าย ที่ สามารถทำงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคได้ ( ด้วยตัวเอง )

โครงการ ล้าน บาท อยากให้มองยาวๆ ทำโครงการนี้ให้ เกิดผลในระยะยาว ชัดเจนในผลผลิต ( วัดได้ ) ในแต่ละ Phase

เรียนรู้จากการทำงาน ผิดไม่เป็นไร ( แต่ผิดแล้วไม่เรียนรู้ ไม่ได้ ) ทบทวนการทำงานทั้งในด้านที่ประสบ ความสำเร็จ และในด้านที่ล้มเหลว ทำให้เป็นระบบ จดบันทึก – กระบวนการจัดการความรู้ –Quality cycle: PDCA (PDSA) cycle (Deming Cycle , Shewhart Cycle – 1923)

คำตอบแบบไหนที่เรา อยากได้ คนงานคนแรก : ตอบว่าเขากำลัง ก่ออิฐ คนงานคนที่สอง : ตอบว่าเขา กำลังสร้างบ้าน ทุกหน่วยงานมีคนเก่ง แต่คนเก่งมัก ทำงานเฉพาะเรื่อง ในแนวลึก ในขณะที่การมองงานในภาพรวม กลับไม่ค่อยมีใครให้ความสนใจ