โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease) นำเสนอโดย วิภาวี ธรรมจำรัส
ความหมาย โรคอุบัติใหม่-อุบัติซ้ำ 3. ขั้นตอนการล้างมือ เนื้อหา ความหมาย โรคอุบัติใหม่-อุบัติซ้ำ 3. ขั้นตอนการล้างมือ
ความหมาย โรคอุบัติใหม่: โรคติดเชื้อใหม่ๆ ที่ปรากฏมีรายงานผู้ป่วยเพิ่มขึ้น ในช่วงประมาณ 2-3 ทศวรรษที่ผ่านมา หรือโรคติดต่อที่มีแนวโน้ม จะพบมากขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้ โรคอุบัติซ้ำ: โรคติดเชื้อที่เคยแพร่ระบาดในอดีตและสงบไปแล้ว เป็นเวลานานหลายปี แต่กลับมาระบาดขึ้นอีก
โรคอุบัติใหม่อุบัติซ้ำ โรคไข้หวัดนก (Avain Influenza) โรคซาร์ (SARS) โรคเอดส์ (AIDS) โรคมือเท้าปาก (Hand, Foot and Mouth Disease) โรคไข้กาฬหลังแอ่น (Meningoccal Meningitis) ฯลฯ
โรคซาร์ (SARS) SARS (Severe Acute Respiratory Syndrome) เป็นโรคที่เกิดจาก ไวรัสพันธุ์ใหม่ ที่มาจากตระกูล “coronavirus” อาการ ไข้สูง ปวดเมื่อยตามเนื้อตัว ปวดศีรษะมาก หนาวสั่น เจ็บคอ ไอแห้งๆ
โรคซาร์ (SARS) การป้องกัน การหลีกเลี่ยงไม่ไปในประเทศที่มี การระบาดของโรค การรักษาสุขภาพ และอนามัยส่วนบุคคล ไม่คลุกคลีใกล้ชิด กับผู้ที่มีอาการของโรค สำหรับผู้ป่วย ควรใช้หน้ากากอนามัยปิดจมูก ปิดปาก เพื่อป้องกันเชื้อแพร่สู่ผู้อื่น
โรคเอดส์ (AIDS) AIDS (Acquired Immuno Deficiency Syndrome) เชื้อไวรัส HIV โรคเอดส์มี 2 ระยะ คือ ระยะไม่ปรากฏอาการ ระยะที่มีอาการ จะแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ - ระยะเริ่มปรากฏอาการ - ระยะโรคเอดส์
โรคเอดส์ (AIDS) ต่อ การป้องกัน การรักษา รักเดียวใจเดียว ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งเมื่อมีเพศสัมพันธ์ ขอรับบริการปรึกษาเรื่องโรคเอดส์ ก่อนแต่งงาน และก่อนตั้งครรภ์ทุกครั้ง ไม่ดื่มเหล้าและงดใช้สารเสพติดทุกชนิด ไม่ใช้ของมีคมร่วมกัน การรักษา ยาต้านไวรัสเอดส์ ยาป้องกันโรคติดเชื้อฉวยโอกาสหากผู้ป่วยเอดส์มีภูมิต้านทานลดลงมาก การออกกำลังกาย การปฏิบัติสมาธิ
โรคเอดส์ (AIDS) ต่อ แนวโน้มของผู้ป่วยเอดส์และผู้ติดเชื้อ
โรคเอดส์ (AIDS) ต่อ จำนวนผู้ป่วยโรคเอดส์จำแนกตามกลุ่มอายุ และเพศ
โรคมือเท้าปาก Hand, Foot, Mouth Disease โรคมือ เท้า ปาก เกิดจากเชื้อเอนเทอโรไวรัสหลายชนิด อาการ มีไข้ต่ำ ๆ อ่อนเพลีย มีอาการเจ็บปากและไม่ยอมทานอาหาร จะพบตุ่มหรือผื่น
โรคมือเท้าปาก Hand, Foot, Mouth Disease
โรคมือเท้าปาก Hand, Foot, Mouth Disease การรักษา ให้ยาตามอาการ เช็ดตัวเพื่อลดไข้ รับประทานอาหารอ่อนๆ นอนพักผ่อนมากๆ การป้องกัน รักษาสุขอนามัย หลีกเลี่ยงการใช้สิ่งของร่วมกัน หมั่นดูแลรักษาสุขลักษณะของสถานที่และอุปกรณ์เครื่องใช้ให้สะอาดอยู่เสมอ
โรคไข้กาฬหลังแอ่น (Meningococcal Meningitis) โรคไข้กาฬหลังแอ่น คือโรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย การติดเชื้อมีได้ 2 ลักษณะคือ • เยื่อหุ้มสมองอักเสบ meningitis • โลหิตเป็นพิษ meningococcemia
โรคไข้กาฬหลังแอ่น (Meningococcal Meningitis) อาการ มีไข้สูงทันที ปวดศีรษะมาก อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน เจ็บคอ คอแข็ง ปวดเมื่อยกล้มเนื้อ ปวดข้อ มีผื่นเลือดออกใต้ผิวหนัง
โรคไข้กาฬหลังแอ่น (Meningococcal Meningitis)
โรคไข้กาฬหลังแอ่น (Meningococcal Meningitis) การป้องกัน ให้ความรู้และประชาสัมพันธ์ พิจารณาการใช้วัคซีนป้องกันโรค ให้ยาฆ่าเชื้อแก่ผู้สัมผัสที่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยทันที ฉีดวัคซีนสำหรับผู้ที่จะเดินทางไปในประเทศที่มีการระบาด การรักษา ในรายที่สงสัยควรรีบให้ การรักษาโดยเร็วไม่ควรรอ จนเกิดผื่น ยาที่ใช้คือ penicillin
ขั้นตอนการล้างมือ วิธีการล้างมือให้สะอาด มี 5 ขั้นตอน 1. ฝ่ามือ เมื่อถูหรือกดสบู่ให้มือมีฟองแล้ว เราควรถูฝ่ามือทั้งสองด้านประมาณ 10 ครั้ง 2. ง่ามนิ้ว กางนิ้ว และคว่ำฝ่ามือลงใช้นิ้วมือถู ตามง่ามนิ้วของแต่ละข้าง สลับด้านกัน ข้างละ 10 ครั้ง
ขั้นตอนการล้างมือ (ต่อ) 3. ง่ามนิ้วโป้ง ถูไป 4 นิ้วแล้ว แต่ยัง เหลืออีก 1 นิ้ว คือนิ้วโป้ง ให้กำมืออีก ข้างรอบนิ้วโป้ง แล้วหมุนไป หมุนมา ข้างละ 10 รอบ 4. เล็บ ขึ้นตอนทำความสะอาดเล็บนี้ ทำได้โดย ใช้เล็บถูกับฝ่ามืออีกข้าง ทำสลับกันไปข้างละ 10 ครั้ง
ขั้นตอนการล้างมือ (ต่อ) 5. ข้อมือ กำมือรอบข้อมือ หมุนไป-มา ข้างละ 10 ครั้ง
...กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน... To Be Continue ...กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน...