รูปแบบของปัญหา (System Model) กระบวนการหนึ่งๆ จะต้องร้องขอใช้ ทรัพยากรก่อนที่จะได้ใช้ทรัพยากรก่อน ได้ใช้ทรัพยากรนั้น และจะต้องคืน ทรัพยากรนั้นกลับสู่ระบบเมื่อใช้เสร็จ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คู่มือการติดตั้งโปรแกรมเสริม
Advertisements

การอบรมการใช้ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
การใช้งานเมนูคำสั่งของ Microsoft Excel 2003
การเรียงสับเปลี่ยนเมื่อมีของซ้ำกัน (Arrangement with Repetition)
The Management of Distributed Transaction
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure
OpenProject รุ่นที่ มกราคม 2553 การเคหะแห่งชาติ อ
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
การใช้งานโปรแกรม 7 สิงหาคม 2555.
นางสาวกนกอร ศิริอำนาจ กลุ่ม 2
Deadlocks oslecture07.
นงลักษณ์ พรมทอง วิเชษฐ์ พลายมาศ
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
คำสั่ง while ควบคุมการทำงานวนซ้ำ กรณีระบบงานมีลักษณะตรวจสอบเงื่อนไขก่อน แล้วเข้าสู่ส่วนลำดับงานคำสั่งที่กำหนดไว้ การเขียนคำสั่ง while ต้องกำหนดนิพจน์แบบตรรกะเป็นเงื่อนไขมีค่าในหน่วยความจำเป็น.
การจัดการอุปกรณ์รับ และแสดงผล
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
การพิมพ์เอกสารออกทาง เครื่องพิมพ์. การตรวจเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Print Preview เราสามารถตรวจสอบความถูกต้องของ เอกสารก่อนสั่งพิมพ์โดยใช้คำสั่ง Print Preview.
Application of Graph Theory
Use Case Diagram.
การออกแบบระบบและประยุกต์ใช้ฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
บทที่ 15 Start การซ่อมบำรุงระบบ (System Maintenance) Next.
ความปลอดภัยของฐานข้อมูล
การฟื้นสภาพและการควบคุมสภาวะพร้อมกัน
สมบูรณ์ บุญกิจอนุสรณ์ กองงานด่านอาหารและยา
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
System Development Lift Cycle
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
การออกแบบระบบฐานข้อมูล
แนวความคิดเกี่ยวกับการใช้ เวลาอย่างถูกต้อง - เวลาเป็นทรัพยากรที่มี ความสำคัญที่สุด - เวลาเป็นทรัพยากรที่มี ลักษณะพิเศษ เทคนิคการวางแผนและการ บริหารเวลา.
การรักษาความปลอดภัยของเอกสาร
DEADLO CK นางสาวเบญจวรรณ จิตร ถวิล วันนี้เริ่มต้นเรียนบทที่ 7 หน้า 237 ในตำรา เรียนจะเกี่ยวกับ deadlocks คือ สิ่งที่รู้อยู่แล้ว คือ สิ่งที่ทำให้แอพพลิเคชั่นหรือบางครั้งถ้า.
Synchronization (การประสานงาน)
Synchronization น.ส.จิรภัทร ทองนพคุณ รหัสนิสิต กลุ่ม 1 Operating System.
ภาวะติดตาย (Deadlock)
Deadlocks รูปแบบของปัญหา (System Model)         กระบวน การหนึ่งๆ จะต้องร้องขอใช้ทรัพยากรก่อนที่จะได้ใช้ทรัพยากรก่อนได้ใช้ทรัพยากรนั้น.
บทที่ 7 Deadlock Your company slogan.
การนำการจัดการความรู้ (Knowledge Management) มาใช้ในงานห้องสมุดคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
แผนผังความคิดรวบยอด เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ และตัวอย่างผังงาน
DEVELOPMENT PRACTICING C- PROGRAMMING IMPLEMENTATION SYSTEM REQUIREMENT Wattanapong suttapak, Software Engineering, school of Information communication.
 จัดเก็บ บริหาร บันทึกการ ฝึกอบรม ความต้องการ การฝึกอบรม การวางแผนการ ฝึกอบรม การมอบหมาย งาน   บริหารจัดการบันทึก สภาพแวดล้อมทั้ง  อุณหภูมิ ความชื้น.
บทที่ 3 การจ่ายงาน (Process Management).
Interrupt.
ระบบการเรียกเก็บหนี้
อาจารย์จังหวัด ศรีสลับ เสนอ จัดทำ โดย แผนก คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ นางสาวสุวรรณ รัตน์ ดำรัส นางสาวศศิธร ดำเกิงพันธุ์
DEVELOPMENT PRACTICING C- PROGRAMMING IMPLEMENTATION SYSTEM REQUIREMENT Wattanapong suttapak, Software Engineering, school of Information communication.
โหมดสี ใน Photoshop เรื่องของสีมีความสำคัญอย่างมากในการใช้งานโปรแกรม Photoshop เพราะจะมีผลกับภาพที่เราต้องการปรับแต่งโดยตรง เราสามารถกำหนดโหมดสีใน รูปแบบต่างๆ.
นางสาวกนกอร ศิริอำนาจ กลุ่ม 2.  บทที่ 7 หน้า 237 ในหนังสือเรียนโอเอส ใน บทนี้จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับ deadlocks คือ สิ่งที่น่าจะ รู้อยู่แล้ว ก็คือ.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
ซอฟต์แวร์ (Softwarre)
Deadloc ks. วันนี้เราเริ่มต้นเรียนบทที่ 7 เริ่มในหน้า 237 ในตำรา เรียนของคุณ. บทนี้จะเกี่ยวกับ deadlocks คือ สิ่งที่คุณรู้, มันคือ สิ่งที่ทำให้ application.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
Chapter7b Deadlock. Daedlocl ( วงจรอัป ) คือ สภาวะที่โพรเซส บางตัวหรือทุกตัวไม่สามารถทำงานต่อไปได้ ส่วนใหญ่เกิดจากการใช้ทรัพยากรร่วมกันแล้ว เกิดการแย่งชิง.
DEADLOCKS Advanced Operating System Operating System Technology
Deadlocks pp. 309.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รูปแบบของปัญหา (System Model) กระบวนการหนึ่งๆ จะต้องร้องขอใช้ ทรัพยากรก่อนที่จะได้ใช้ทรัพยากรก่อน ได้ใช้ทรัพยากรนั้น และจะต้องคืน ทรัพยากรนั้นกลับสู่ระบบเมื่อใช้เสร็จ กระบวนการอาจจะร้องขอทรัพยากรได้ มากเท่าที่ต้องการเพื่อที่จะทำงานของตน ให้เสร็จสมบูรณ์ แต่จำนวนทรัพยากรที ร้องขอจะต้องไม่มากกว่าจำนวนที่มีอยู่ จริงในระบบ

เมื่อกระบวนการต้องการใช้ ทรัพยากรของระบบ จะต้อง ทำตามลำดับขั้นตอนต่างๆ ดังนี้ 1. การร้องขอ (Request) 2. การใช้งาน (Use) 3. การคืน (Release)

ลักษณะของวงจรอับ (Deadlock characterization) วงจรอับเป็นสถานการณ์ที่ไม่เป็นที่ ต้องการจะให้เกิดขึ้นในระบบ เพราะว่า เมื่อเกิดวงจรอับแล้วจะพบว่า ไม่มี กระบวนการใดได้ทำงานจนเสร็จ สมบูรณ์ และทรัพยากรของระบบต่างก็ ถูกครอบครองจนหมด ซึ่งจะเป็นตัวกัน ไม่ให้งานอื่นได้ทำงาน

เงื่อนไขในการติดวงจรอับ (Necessary Conditions) วงจรอับจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ  ทรัพยากรเป็นแบบใช้ร่วมกันไม่ได้ (Mutual exclusion)  การถือครองแล้วรอคอย (Hold and wait)  ห้ามแทรกกลางคัน (No preemption)  วงจรรอคอย (Circular wait)

กราฟการจัดสรรพทรัพยากร (Resource Allocation Graph) เมื่อกระบวนการ P ₁ ร้องขอ ทรัพยากรประเภท R ₁ เราก็จะเขียน เส้นร้องขอลงในกราฟ การจัดสรรพ ทรัพยากร และเมื่อการร้องขอนั้น ได้รับอนุมัติจากระบบ เส้นร้องขอก็ จะถูกแปลง ไปเป็นเส้นถือครอง แทน และหลังจากที่กระบวนการ ปล่อยทรัพยากรคืนสู่ระบบแล้ว เส้น ถือครองก็จะถูกลบออกไปจากกราฟ เช่นกัน

แสดงกราฟการจัดสรร ทรัพยากร

กราฟการจัดสรรพทรัพยากร ในรูปข้างต้น แสดงสถานะ ของระบบได้ ดังนี้ เซต P = { P ₁, P ₂, P ₃ } เซต R = { R ₁, R ₂, R ₃, R ₄ } เซต E = { P ₁  R ₁, P ₂  R ₃, R ₁  P ₂, R ₂  P ₂, R ₂  P ₁, R ₃  P ₃ }

การจัดการปัญหาวงจรอับ (Methods for Handing Deadlocks)  กำหนดกฎเกณฑ์บางอย่างในการใช้ ทรัพยากร เพื่อให้แน่ใจว่าระบบไม่มี ทางเกิดวงจรอับได้  ไม่ต้องป้องกันใดๆเลย ปล่อยให้ระบบ เกิดวงจรอับขึ้นก่อน แล้วค่อยตามแก้ไข ทีหลัง  มองข้ามปัญหาทั้งหมด ทำว่าวงจรอับ ไม่เคยเกิดขึ้นในระบบ

การป้องกันการเกิดวงจรอับ (Deadlock Prevention)  ห้ามใช้ทรัพยากรร่วมกัน (Mutual Exclusion) ระบบจะไม่ให้ใช้ทรัพยากร ร่วมกัน  การถือครองและรอคอย (Hold and Wait) เมื่อ Process ใดร้องขอทรัพยากร ในระบบ Process นั้นจะต้องไม่ถือครอง ทรัพยากรนั้น

การแก้ไขวงจรอับ (Recovery from Deadlock)  รายงานให้ผู้ควบคุมเครื่องทราบว่า ขณะนี้เกิดวงจรอับขึ้นในระบบแล้ว และ ให้ผู้ควบคุมจัดการแก้ไขวงจรอับเอง  ระบบแก้ไขวงจรอับเองโดยอัตโนมัติ มี 2 วิธี คือ 1. ยกเลิกการบวนการที่ติดอยู่ในวงจร อับบางกระบวนการเพื่อที่จะตัดวงจรอับ 2. อนุญาตให้มีการแทรกกลางคัน ทรัพยากรบางส่วนที่ติดอยู่ในวงจรอับ ได้ เพื่อให้ระบบกลับคืนสู่สภาวะปกติ

จัดทำโดย นางสาววีราภรณ์ หามนตรี รหัส กลุ่ม 1