สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการลงทุนด้านสุขภาพ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ ) สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ 7 พฤศจิกายน.
Advertisements

สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
นพ. ทักษพล ธรรมรังสี แผนงานพัฒนาศักยภาพนักวิจัย
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
น.พ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทาง/เครื่องมือในการคาดการณ์ความต้องการและอุปทานกำลังคน
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
ภูษิต ประคองสาย วลัยพร พัชรนฤมล วราภรณ์ ปวงกัณทา
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
หกมิติความไม่เท่าเทียมระหว่างหญิงชาย หนทางเพื่อพัฒนาสู่ความเสมอภาค
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ปี 2549 จากประชากรทั้งสิ้น ล้านคน เป็นผู้มีงานทำ ล้านคน
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
โครงการนำร่องการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
คู่มือสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยทำงานด้านโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ ผลการศึกษาขั้นต้น ภาระโรค/ปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพและทิศทางการลงทุนด้านสุขภาพ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข นำเสนอในการประชุมเชิงปฏิบัติการ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการศึกษาภาระโรค/ปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ และการลงทุนด้านสุขภาพในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 11 สิงหาคม 2551 ณ ห้องประชุม Sapphire โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี

หัวข้อในการนำเสนอ วัตถุประสงค์ของการศึกษา ภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพที่สำคัญในประเทศไทย การสูญเสียผลิตภาพ (productivity loss) จากภาระโรคและปัจจัยเสี่ยง 10 อันดับแรก การลงทุนของภาครัฐกับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค มาตรการด้านสุขภาพสำหรับภาระโรคที่สำคัญในประเทศไทย การดำเนินการในช่วงต่อไปของการศึกษา

วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อทบทวนการดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค การตรวจคัดกรองผู้ป่วยระยะแรก การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสมรรถภาพ ที่เกี่ยวข้องกับภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ 10 อันดับแรกของประเทศไทย เปรียบเทียบมาตรการทางสุขภาพของภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ 10 อันดับแรกกับข้อเสนอแนะใน Disease Control Priorities in Developing Countries – 2nd edition จัดทำข้อเสนอแนะในลักษณะกรอบและแผนการลงทุนด้านสุขภาพในแผนฯ 10 (พ.ศ. 2550-2554) รวมทั้งประมาณการความต้องการงบประมาณในระยะกลาง

10 อันดับแรกของกลุ่มโรคที่ก่อให้เกิดความสูญเสียปีสุขภาวะ (DALY) ในประชากรไทย พ.ศ. 2547 % of Total 52.6 42.8 ที่มา โครงการศึกษาภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงของประเทศไทย พ.ศ. 2547

จำนวนปีที่สูญเสียปีสุขภาวะของประชากรไทยตามกลุ่มของสาเหตุระหว่างพ. ศ จำนวนปีที่สูญเสียปีสุขภาวะของประชากรไทยตามกลุ่มของสาเหตุระหว่างพ.ศ. 2542 และพ.ศ. 2547 เพศหญิง เพศชาย

จำนวนปีที่สูญเสียไปจากภาระโรค พ.ศ. 2542 และ 2547 จำแนกตามกลุ่มอายุ เพศชาย เพศหญิง

ปัจจัยเสี่ยงและจำนวนปีที่สูญเสียไปจากภาระโรคในประชากรไทย พ. ศ ปัจจัยเสี่ยงและจำนวนปีที่สูญเสียไปจากภาระโรคในประชากรไทย พ.ศ. 2542 และ 2547 ที่มา โครงการศึกษาภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงของประเทศไทย พ.ศ. 2547

แนวโน้มการสูบบุหรี่และการดื่มสุราของประชากรไทย แหล่งข้อมูล สอส แนวโน้มการสูบบุหรี่และการดื่มสุราของประชากรไทย แหล่งข้อมูล สอส. 2544, 2546, 2549

ความชุกของการดื่มสุราในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป แหล่งข้อมูล สอส ความชุกของการดื่มสุราในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป แหล่งข้อมูล สอส. 2544, 2546, 2549

ข้อค้นพบจากการศึกษาภาระโรค เมื่อจำแนกตามกลุ่มสาเหตุ ภาระโรคที่เกิดจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อสูญเสียเพิ่มขึ้นทั้งในเพศชายและเพศหญิง ขณะที่กลุ่มโรคติดต่อมีการสูญเสียปีสุขภาวะลดลง การสูญเสียปีสุขภาวะลดลงในกลุ่มอายุน้อยกว่า 30 ปี แต่เพิ่มขึ้นในกลุ่มที่มีอายุมากกว่า 30 ปีขึ้นไป การสูญเสียปีสุขภาวะจาก unsafe sex และยาเสพติดลดลงในปี 2547 ในขณะที่การสูญเสียปีสุขภาวะจากการบริโภคแอลกอฮอล์และยาสูบ การไม่สวมหมวกกันน็อค และความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น แนวโน้มการสูบบุหรี่ของประชากรไทยลดลงแต่การดื่มสุราเป็นประจำกลับมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะกลุ่มประชากรที่มีรายได้น้อยและมีการศึกษาระดับประถมศึกษาหรือต่ำกว่า

ผลการศึกษา Productivity loss 12 BOD การสูญเสียผลิตภาพจากการตายก่อนวัยอันควรและการเจ็บป่วยเนื่องจาก 12 ภาระโรคในปี 2548 Total productivity loss from 12 BOD = 71,440 million baht ~ 1% of GDP in 2548 Note: GDP in 2548 = 7,104,228 million baht

ภาระโรค 3 อันดับแรกที่มีความสูญเสียสูงสุดในประเทศไทย หมายเหตุ เป็นข้อมูล 2548 ยกเว้น DALY loss เป็นข้อมูลปี 2547 อุบัติเหตุจราจร และ HIV/AIDS ก่อให้เกิดความเสียหายทั้ง 4 มิติ เบาหวาน โรคหัวใจหลอดเลือด เกิดความสูญเสีย ใน 2 มิติ ดังนั้นการปรับทิศทางการลงทุนด้านสุขภาพในประเทศไทย ควรจะให้ความสำคัญของการลดภาระโรค ในตารางด้านบน

Health care expenditure in Thailand by function in 2001 and 2005

Household consumption: tobacco, alcohol and health Median household expenditure per month Sources: Analyses from 2006 SES

2. MTEF – ผลการศึกษา, status quo

2. MTEF – ผลการศึกษา, status quo P&P = 5-6% of total recurrent health expenditure Proportion of P&P is decreasing over the time (2550-2544)

2. MTEF – ผลการศึกษา, scenario 1

2. MTEF – ผลการศึกษา, scenario 2

2. MTEF – ผลการศึกษา, scenario 3

MTEF – ผลการศึกษา, the most possible scenario คำนึงถึงความสามารถในการจ่ายของรัฐ และ การใช้เงินที่เพิ่มขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ Scenario 2 และ 3 มีผลให้ P&P เพิ่มขึ้นอย่างมากหลายเท่าตัว ในปี 2554 น่าจะมีความเป็นไปได้น้อยเมื่อเทียบกับ Scenario 1 (Scenario 2 เพิ่ม 7 หมื่นล้าน และ Scenario 3 เพิ่ม 1 แสนล้าน) Scenario ที่มีความน่าจะเป็นไปได้มากที่สุด คือ scenario 1 (เพิ่มรายจ่ายสุขภาพ P&Pเป็นสองเท่า ตั้งแต่ปี 2552 เป็นต้นไป)

Disease Control Priorities in Developing Countries 2006 (second ed) – DCP2 เป็นการทบทวนระบบโลกเกี่ยวกับการควบคุมโรคต่างๆ ที่มีลำดับความสำคัญสูงในประเทศกำลังพัฒนา รวบรวม cost-effectiveness interventions ใน 4 กลุ่มสภาวะ Infectious disease, reproductive health, and under-nutrition Non-communicable disease and injury Risk factors Consequences of disease and injury นอกจากนี้ ยังมีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการสร้างความเข้มแข็งของระบบสุขภาพและการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมและป้องกันโรคที่มีลำดับความสำคัญ http://www.dcp2.org/pubs/DCP

สถานการณ์และมาตรการด้านสุขภาพเกี่ยวกับ HIV/AIDS ปัญหาความไม่ครอบคลุมของการใช้ถุงยางอนามัยในกลุ่มเสี่ยง การไม่สามารถเข้าถึงถุงยางอนามัยของหญิงบริการ การสนับสนุนถุงยางอนามัยจากส่วนกลางลดลง การขายบริการทางเพศแบบทางอ้อม เน้นกลุ่มนักเรียนและวัยรุ่นซึ่งกลายเป็นประชากรกลุ่มเสี่ยง การมีพฤติกรรม unsafe sex ขาดความรู้และเริ่มมีเพศสัมพันธ์ในขณะที่มีอายุน้อย ความยากลำบากในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ขยายการให้ข้อมูลข่าวสารและการศึกษาผ่านสื่อมวลชน การให้คำปรึกษาและตรวจคัดกรองในประชากรทั่วไป การให้บริการตรวจคัดกรองในหญิงตั้งครรภ์ทุกราย ปรับปรุงระบบการติดตามประเมินผล

มาตรการของนโยบายแอลกอฮอล์ จำแนกตามระยะของการก่อปัญหา การผลิต Production การโฆษณา การกระจายและการจัดจำหน่าย ขั้นตอนการซื้อ On-premise Off-premise การบริโภค 2 1 5 3 ปัญหา 4 6 7 หมายเหตุ มาตรการทางภาษีและราคา การควบคุมการเข้าถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การดัดแปลงสถานการณ์และบริบทของการดื่ม มาตรการจัดการกับการขับขี่ยานพาหนะภายใต้อิทธิพลของแอลกอฮอล์ การควบคุมการโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มาตรการสุขศึกษาและการโน้มน้าว มาตรการการบำบัดรักษาและการคัดกรอง

มาตรการที่ประเทศไทยควรดำเนินการ – แอลกอฮอล์ การฟื้นฟู การลดการบริโภค (ประชากรทั่วไปและกลุ่มเสี่ยง) [การป้องกันระดับปฐมภูมิ] อุปสงค์ อุปทาน จัดการกับความเสี่ยงปัญหา 6. ให้สุขศึกษาและโน้มน้าว 7. การบำบัดรักษาและคัดกรอง 5. ควบคุมการโฆษณา 4. การขับขี่ขณะมึนเมา 3. สถานการณ์และบริบทของการบริโภค 1. ภาษีและราคา 2. ควบคุมการเข้าถึง ฟื้นฟูและจำกัดขนาดของปัญหา ทำให้การบริโภคปลอดภัยขึ้น ทำให้การบริโภคเป็นเรื่องยากขึ้น เพิ่มแรงต้านต่อการบริโภค เป้าหมายหลักของมาตรการ มาตรการ การป้องกันปัญหาโดยตรงและการแก้ไขปัญหา (กลุ่มผู้บริโภค และผู้ประสบปัญหา) [การป้องกันระดับทุติยภูมิ และตติยภูมิ]

ประสิทธิผลการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูง ระดับไขมันและน้ำตาลในเลือดสูงในประเทศไทย ที่มา การสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 3 เฉพาะผู้ที่อายุมากกว่า 15 ปี

การดำเนินการในช่วงต่อไปของการศึกษา ประเมินประสิทธิภาพของ interventions เกี่ยวกับภาระโรคที่สำคัญ HIV/AIDS Road traffic injuries Cardio-vascular disease and diabetes Overweight and obesity Alcohol and tobacco consumption Multi-stakeholder consultation Mobilize more resources for P&P activities from inside and outside health sector, Scaling up effective health interventions for big burden of disease and address social determinants of health, Investment in health in the 10th National Development Plan and implementation.

กิตติกรรมประกาศ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.) แผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

ข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มย่อย CVD and obesity (1) Comprehensive risk reduction ในระดับประชากร เพื่อลด health risks ในหลายกลุ่มโรคพร้อมๆ กัน เช่น DM, stroke, HT, obesity เป็นต้น ปัญหาเรื่อง implementation and administration การขาดการประสานงาน ไม่มีเจ้าภาพหลัก/เจ้าภาพรอง การประสานงานเป็นลักษณะ ad hoc ไม่ regular บางครั้ง policy มีความขัดแย้งกันเองระหว่างกรมฯ ไม่ควรมองเฉพาะว่ามีหรือไม่มี intervention แต่ควรดูเรื่อง how to scaling up ด้วย มาตรการควรมีทั้งด้าน supply and demand side เช่น การให้ความรู้กับประชาชน และการสร้างความเข้มแข็ง ต้องคิดเชิงระบบในการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการออกกำลังกายในวิถีชีวิตของผู้คน

ข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มย่อย CVD and obesity (2) มาตรการอาจอยู่นอกเหนือระบบบริการสุขภาพ โดยอาจมาจากพื้นที่และควรเป็นองค์ความรู้ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย Policy บางอย่างโดยเฉพาะ non-health policy อาจได้ผลกับ health risk หลายอย่าง ต้องมีการวิเคราะห์ให้ดี เช่น public transport หรือการสร้าง bicycle lane การลดความแออัดของโรงพยาบาลขนาดใหญ่ นโยบายเหล่านี้ต้องการ overarching public policies ที่ชัดเจน Health care financing source บางครั้งไม่ได้มาจากแหล่งเดียว การให้ความรู้ด้านสุขภาพขณะนี้ขาดตอน หยุดอยู่เพียงแค่ระดับโรงเรียน

ข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มย่อย CVD and obesity (3) การวิจัยรูปแบบการออกกำลังกายที่เหมาะสมสำหรับกลุ่มอายุต่างๆ เช่น ผู้สูงอายุ อาจจำเป็นต้องมีนโยบายมาตรการทางภาษีหรือ incentives ผลิต healthy products หรือ healthy food การออกแบบอาคารหรือสิ่งแวดล้อมเพื่อการออกกำลังกาย การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและระดับตัวบุคคล รวมทั้ง การให้ความสำคัญต่อการพัฒนา primary care

ข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มย่อย alcohol & tobacco (1) นโยบายแอลกอฮอล์มีวิกฤติของสถานการณ์ทางกฎหมายและการผลักดันนโยบายสู่การปฏิบัติ นอกจากการรณรงค์ ต้องมีการบังคับใช้ พรบ. ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 การต่อสู้กับผลประโยชน์ของผู้ประกอบการ การรับรู้และยอมรับของสังคมต่อการควบคุมแอลกอฮอล์เพิ่มมากขึ้น ประสิทธิภาพของมาตรการในการควบคุมการโฆษณาเรื่องแอลกอฮอล์

ข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มย่อย alcohol & tobacco (2) เสนอให้ใช้มาตรการทางด้านวัฒนธรรมและศาสนากับเรื่องแอลกอฮอล์ เพื่อเปลี่ยนแปลงค่านิยมและบรรทัดฐานในสังคม มาตรการสุขศึกษาและการโน้มน้าว นอกจากใช้ในโรงเรียนและสถานศึกษาแล้ว ควรทำร่วมกับสังคมทั้งระบบ โดยเน้นการใช้สื่อที่เหมาะสมในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย การทำบัญชีรายจ่ายครัวเรือน มาตรการอื่นๆ ปรับลดระดับแอลกอฮอล์ในเลือดขณะขับขี่จาก 50 mg% เป็น 20 mg% ลดการเข้าถึงแอลกอฮอล์โดยจำกัดของเขตในการขายและการโฆษณา เน้นการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น

ข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มย่อย road traffic injuries (1) มาตรการ 5E + 1E Enforcement – ปัญหาเรื่องกฎหมายยังไม่เอื้อ โครงสร้างของตำรวจ Engineering – ใช้มาตรการ social sanction มาตรการของชุมชน การตรวจสภาพรถยนต์ โดยเฉพาะระบบเบรค, public transport Education - Evaluation - EMS - ไม่มีข้อเสนอเท่าที่ควร Empowering – public-private mix, social sanction

ข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มย่อย HIV/AIDS (1) ความขัดแย้งเรื่องความเพียงพอของงบประมาณระหว่างกรมควบคุมโรค กับ สปสช. งบประมาณด้านการป้องกันโรคถูกจัดสรรลงไปที่ระดับพื้นที่เป็น area-based PP budget การแก้ไขกฏหมายของประกันสังคมในการทำงาน P&P เรื่องพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของเยาวชน การรณรงค์ผ่านสื่อมวลชน ยึดหัวหาดในโรงเรียน รณรงค์เชิงรุกเรื่อง Voluntary confidential counseling testing (VCCT)

ข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มย่อย HIV/AIDS (2) การรักษาทำได้ค่อนข้างดี แต่ควรรณรงค์เพิ่ม coverage of VCT โดยเฉพาะสามีของหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ ผู้มีอาชีพพิเศษที่เป็นอาชีพเสริม กลุ่มใช้ยาเสพติดชนิดฉีด - เรื่องการเข้าถึงเข็มฉีดยาที่ปลอดภัย กลุ่มชายรักชาย (MSM) กลุ่มชาติพันธุ์และกลุ่มผู้อพยพเคลื่อนย้าย ที่ยังไม่สามารถเข้าถึงบริการได้ มองประเด็นเรื่องสังคมและองค์รวม