หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง
Advertisements

ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current)
ผลกระทบของแรงดันอินพุตออฟเซ็ตต่อวงจรขยาย
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
โปรแกรมออกแบบวงจรกรองความถี่ต่ำผ่านโดยใช้ค่าความต้านทานและตัวเก็บประจุมาตรฐาน โดย  นายชญาน์ แหวนหล่อ รหัส นายธนวัฒน์ วัฒนราช รหัส
โดย นายชญาน์ แหวนหล่อ นายธนวัฒน์ วัฒนราช
X-Ray Systems.
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
Welcome to Electrical Engineering KKU.
โดย นายชญาน์ แหวนหล่อ นายธนวัฒน์ วัฒนราช
8. ไฟฟ้า.
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ EG 3 กันยายน 2551.
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC.
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
MAGNATICALLY COUPLED CIRCUITS
ลำโพง (Loud Speaker).
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
สื่อการสอนเรื่องแรงบนตัวนำ
โสตทัศนูปกรณ์ประเภทเครื่องเสียง
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
Second-Order Circuits
CHAPTER 10 AC Power Analysis
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
หม้อแปลง.
การวัดและทดสอบการทำงานของวงจรเครื่องส่งวิทยุ
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 6 วงจรไฟฟ้าสามเฟส Three-Phase Circuits (Part II)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Electrical Circuit Analysis 2
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)*
หน่วยที่ 4 การปรับปรุงตัวประกอบกำลัง
บล็อกไดอะแกรมภาคจ่ายไฟ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
บทที่ 1 สัญญาณไฟฟ้าชนิดต่างๆ
หน่วยที่ 5 เครื่องส่งวิทยุ.
หน่วยที่ 4 วงจรกรองความถี่
หน่วยที่ 6 วงจร TUNE.
บทที่ 2 อินติเกรเตอร์ และ ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์.
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
การสื่อสารประเภทวิทยุ
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
สายสัมพันธ์ไฟฟ้า-แม่เหล็ก
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน
กฤษ เฉยไสย วิชัย ประเสริฐเจริญสุข อังคณา เจริญมี
Electronic Circuits Design
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
DC motor.
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ วงจรไฟฟ้า LC ค่า RMS หมายความว่าอย่างไร
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ทฤษฎีของมิลล์แมน.
Electronic Circuits Design
Ch 12 AC Steady-State Power
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC ในเครื่องส่งวิทยุ ผู้สอน นายสายยันต์ กันอินทร์

เนื้อหาที่เรียน 3.1 คุณลักษณะสมบัติของ R ในเครื่องส่งวิทยุ 3.2 คุณลักษณะสมบัติของ L ในเครื่องส่งวิทยุ 3.3 คุณลักษณะสมบัติของ C ในเครื่องส่งวิทยุ 3.3 ความถี่เรโซแนนซ์

คุณสมบัติหลักๆ ของอุปกรณ์ทั้ง 3 ตัว 1.ตัวต้านทาน ( R ) 1)จำกัดกระแสไฟฟ้า 2)แบ่งแรงดันและกระแสไฟฟ้า 3)เปลี่ยนกระแสไฟฟ้าเป็นแรงดัน 4)ไม่มีผลต่อความถี่

2. ตัวเก็บประจุ ( C ). 1)เก็บกระแสไฟฟ้าเร็ว. 2)คายกระแสไฟฟ้าเร็ว 2.ตัวเก็บประจุ ( C ) 1)เก็บกระแสไฟฟ้าเร็ว 2)คายกระแสไฟฟ้าเร็ว 3)ต้านทานความถี่ต่ำ 4)ไม่ยอมให้ไฟ DC ผ่าน

3. ตัวเนี่ยวนำ ( L ). 1)ปล่อยกระแสเมื่อมีสนามแม่เหล็กตัดผ่าน

ความถี่เรโซแนนซ์ (resonant frequency) ความถี่เรโซแนนซ์ (Resonance Frequency) คือ ความถี่ที่ทำให้อิมพิแดนซ์รวม (Impedance) ของระบบมีค่าต่ำที่สุด ซึ่งที่ความถี่เรโซแนนซ์นั้นกระแส (I) จะมีค่าสูงสุด คือ I = VAC/R

ความถี่เรโซแนนท์ จะขึ้นอยู่กับค่า C และ L เท่านั้น คำนวณได้จากสมการ                 

ตัวอย่างที่ 3.1 จงคำนวณหาค่าความถี่เรโซแนนซ์ของวงจร เมื่อกำหนดให้ C = 0.25 μF และ L = 40mH

ตัวอย่างที่ 3.2 จงคำนวณหาค่าตัวเก็บประจุของวงจร เมื่อกำหนดให้ความถี่เรโซแนนซ์มีค่าเท่ากับ 2 kHz และ L = 2mH

ตัวอย่างที่ 3.3 จงคำนวณหาค่าตัวเหนี่ยวนำของวงจร เมื่อกำหนดให้ความถี่เรโซแนนซ์มีค่าเท่ากับ 10 kHz และ C = 10 μF

แบบฝึกหัด 3.1 จงคำนวณหาค่าความถี่เรโซแนนซ์ของวงจรเมื่อกำหนดให้ C = 10 μF และ L = 1mH 3.2 จงคำนวณหาค่าตัวเก็บประจุของวงจรเมื่อกำหนดให้ความถี่ เรโซแนนซ์มีค่าเท่ากับ 5 kHz และ L = 5mH (ในหน่วย μ) 3.3 จงคำนวณหาค่าตัวเหนี่ยวนำของวงจรเมื่อกำหนดให้ความถี่ เรโซแนนซ์มีค่าเท่ากับ 5 kHz และ C = 10 μF (ในหน่วย m)