โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
Advertisements

การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
บทที่ 2 ฟังก์ชันค่าเวกเตอร์
2.5 Field of a sheet of charge
Vector Analysis ระบบ Coordinate วัตถุประสงค์
แต่มุ่งหวังให้เด็กไทย
สอบท้ายบท เรื่อง เวกเตอร์
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
Ordering and Liveness Analysis ลำดับและการวิเคราะห์บอกความ เป็นอยู่หรือความตาย.
เวกเตอร์และสเกลาร์ขั้นสูง
เวกเตอร์และสเกลาร์ ขั้นสูง
โมเมนตัมและการชน.
พันธะเคมี Chemical bonding.
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
อสมการ.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ผลคูณเชิงสเกลาร์และผลคูณเชิงเวกเตอร์
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
เป็นจุดใดๆ ในพิกัดทรงกลม
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
บทที่ 1เวกเตอร์สำหรับฟิสิกส์ จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 3 ชั่วโมง
เวกเตอร์ (Vectors) 1.1 สเกลาร์และเวกเตอร์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
สื่อการสอนเรื่องแรงบนตัวนำ
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
เวกเตอร์(Vector) โดย มาสเตอร์พิทยา ครองยุทธ
ระบบอนุภาค.
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
Force Vectors (1) WUTTIKRAI CHAIPANHA
Structural Analysis (2)
Force Vectors (2) WUTTIKRAI CHAIPANHA
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
กฏเกณฑ์นับเบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
แฟกทอเรียลและการเรียงสับเปลี่ยน
การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่เป็นวงกลม
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
งานและพลังงาน อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่แบบคาบ อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
กิจกรรมที่ 7 การวางแผนการแก้ปัญหา (1)
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ชนิดของข้อมูลแบบพื้นฐาน 1. จํ านวนเต็ม (Integer Data Type) 2. จํ านวนจริง (Real Data Type) 3. ตัวอักขระ (Character Data Type) 4. ตรรกศาสตร ? (Boolean.
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
ปัญหาคืออะไร. การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ไขปัญหา รายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์ (ง30222)
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
ความชันและสมการเส้นตรง
ปริมาณสเกล่าร์ และปริมาณเวกเตอร์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์ ฟิสิกส์ เวคเตอร์ Vector โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์

สเกลารและเวกเตอร ปริมาณสเกลาร์ ปริมาณเวกเตอร เปนปริมาณที่ไมมีทิศทาง มีเฉพาะขนาดอยางเดียวเชน ระยะทาง เวลา อุณหภูมิ มวล ฯลฯ การคิดคำนวณเกี่ยวกับ ปริมาณสเกลาร์ จึงคิดเหมือนการรวมแบบพืชคณิต ปริมาณเวกเตอร เปนปริมาณที่ มี ทั้งขนาดและทิศทาง เชน แรง ความเร็ว ความเรง ฯลฯ

ปริมาณเวกเตอร เนื่องจากปริมาณเวกเตอรเปนปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง ดั้งนั้นรูปรางที่ใชแทนปริมาณเวกเตอรจะทั้งครอบคลุมทั้งขนาดและ ทิศทางที่นิยมใชคือเสนตรงที่มีหัวลูกศรกํากับโดยความยาวของลูกศรคือ ขนาดของปริมาณเวกเตอรสวนทิศทางของหัวลูกศรคือทิศทาง

ปริมาณเวกเตอรในสมการทางคณิตศาสตรใชสัญลักษณตัวพิมพใหญ ในภาษาอังกฤษแลวมีลูกศรกํากับ (A ) หรือตัวพิมพใหญตัวหนา (A) เพื่อแสดงปริมาณเวกเตอรและใชสัญลักษณ A หรือ A แทนขนาดของปริมาณเวกเตอร์

ระยะกระจัด คือ เสนตรงที่ลากจากจุดเริ่มตนจนถึงจุดสิ้นสุด การดูแตขนาดไมสนใจทิศทาง ใหใสสัญลักษณขีดสองขีดครอมเวกเตอร ขนาดของเวกเตอร เปนปริมาณสเกลาร มีคาเปนบวกเสมอ

การรวมเวกเตอร์ การรวมเวกเตอร์แบ่งได้เป็น 2 แบบคือ 1. การเขียนรูป ทำโดยการนำเวกเตอร์ที่ต้องการนำมาบวกกัน โดยหัวลูกศรให้เรียงตามกัน ผลลัพธ์หาได้จากการลากจากหางของเวกเตอร์อันแรก ไปยังหัวของเวกเตอร์สุดท้าย

การลบเวกเตอร

2. การบวกเวกเตอร์โดยวิธีคำนวณ - กฎของโคไซน์ cosine

- กฎของไซน์ sine

คุณสมบัติพื้นฐานของเวกเตอร์

เวกเตอรหนึ่งหนวย เวกเตอรหนึ่งหนวยคือเวกเตอรที่มีขนาด 1 หนวย มีจุดประสงคเพื่อบอกทิศทาง มีทิศทางตามทิศของเวคเตอร์ที่พิจารณา

เวกเตอรหนึ่งหนวยที่สำคัญคือ ในระบบพิกัดฉาก คือ แกน X, Y และ Z โดย

องค์ประกอบเวคเตอร์ใน 2 และ 3 มิติ องค์ประกอบเวคเตอร์ใน 2 มิติ

องค์ประกอบเวคเตอร์ใน 3 มิติ

เมื่อทราบขนาดของเวคเตอร์บนแกน x, y และ z แล้ว สามารถเขียนองค์ประกอบของเวคเตอร์ใน 3 มิติได้ ขนาดของเวคเตอร์ A คำนวณได้จาก

การรวมเวกเตอร์ โดยใชเวกเตอรหนึ่งหนวยกํากับบนแกนแตละแกน เราสามารถจะรวม เวกเตอรทั้งสอง โดยใชเวกเตอรหนึ่งหนวยกํากับบนแกนแตละแกน ดังนี้ A = Axi + Ayj + Azk B = Bxi + Byj + Bzk C = A + B C = (Ax + Bx)i + (Ay + By) j + (Az + Bz) k = Cxi + Cyj + Cz k

ผลคูณของเวกเตอร การคูณเวกเตอรมีดวยกัน 2 แบบ แบบแรกไดผลลัพธเป็นปริมาณ สเกลาร ขณะที่แบบที่สองไดผลลัพธเปนปริมาณเวกเตอร์ การคูณแบบที่หนึ่ง ผลลัพธเปนปริมาณสเกลาร การคูณแบบแรกนี้มีชื่อเฉพาะเรียกวา การดอตเวกเตอร

การดอตเวกเตอรไมจําเปนตองคํานึงถึงลําดับกอนหลัง ดังนี้ A . B = B. A การแยกองคประกอบเวกเตอรใหอยูในระบบพิกัด 3 มิติ โดยมีเวกเตอรหนึ่งหนวยกํากับทิศทาง A . B = (Axi + Ayj + Azk) . (Bxi + Byj + Bzk) จะได้ A . B = AxBx + AyBy + AzBz

การคูณแบบที่สองผลลัพธเปนปริมาณเวกเตอร การคูณแบบนี้มีชื่อเฉพาะเรียกวา การครอสเวกเตอร์ C = A × B ขนาดของ C หาไดจาก ทิศทางการครอสเวกเตอรไดจากกฎของมือขวา

การครอสแบบแยกองคประกอบเวกเตอรใหอยูในระบบพิกัด 3 มิติ โดยมี เวกเตอร 1 หนวยกํากับทิศทาง A×B = (Axi + Ayj + Azk ) × (Bxi + Byj + Bzk) ถาให C = A×B สวนประกอบของเวกเตอร C บนระบบพิกัด x, y และ z คือ Cx = AyBz - AzBy Cy = AzBx - AxBz Cz = AxBy - AyBx