การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนประกอบของดอก อรพร ยามโสภา Science:Plant_2 Oraporn Yamsopa.
Advertisements

“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์
หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์
พฤติกรรมการถ่ายทอดลูกหลานของแมลง Brood Producing Behaviors in Insects
โรคแท้งติดต่อ (Brucellosis)
Avian Salmonellosis ระบาดวิทยา
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
Antinematodal Drugs (ยากำจัดพยาธิตัวกลม) 1. Piperazine
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
การปฏิสนธิ-ท้อง9เดือน
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
วัยเจริญพันธุ์และพฤติกรรมทางเพศ (Puberty & Sexual Behavior)
การเลี้ยงปลาบึก ABC DEFG รหัส 47xxxxxx คณะเกษตรศาสตร์ สาขาประมง.
คำแนะนำมารดาหลังคลอด
เรียนรู้ดูประสบการณ์จริง
โดย มิสจารุวรรณ สัจจะวัฒนวิมล ม.นพดล ปัญญาดี
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เสนอ รศ.สุวิทย์ วรรณศรี รายวิชา BIOL351 ชีววิทยาของสัตว์ในท้องถิ่น
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
และแผนการดำเนินงาน ปี 55 สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
สิงโต ถิ่นกำเนิด    พบในทวีปอัฟริกา ในทีปเอเชียยังคงมีอยู่บ้างเช่นบางแห่งในประเทศ อินเดียแถบตะวันตก ลักษณะ    สิงโตอัฟริกา และสิงโตอินเดียไม่มีลักษณะที่แตกต่างกันไม่มีลายตามตัวอย่างเสือ.
สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์
(Artificial insemination) สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
จัดทำโดย นางกุลธิดา จินดา โรงเรียนบ้านแต้ชะบา(อสพป.38)
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
การผสมเทียม นางแก้วตา สุเดชมารค วิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับสัตว์
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
Wean-to-Finish (WTF) System
การเลี้ยงสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ รศ..ดร.วิโรจน์ ภัทรจินดา
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
ควรเริ่มตรวจแป๊บสเมียร์เมื่อใด ใครบ้างที่ควรตรวจแป๊บสเมียร์
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
เราไปกัน เลย ปิด โปรแกร ม ก. แมว ค. นก ข. ม้า ง. ควาย อ๋อ..... รู้ แล้ว.
การฝึกงาน องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย อ. หนองวัวซอ จ
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
การออกแบบการเรียนรู้
เทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์ Animal biotechnology
อาหารทารก แรกเกิด - 12เดือน
แมลงสังคม แมลงชนิดเดียวกันมีการอาศัยในรังเดียวกัน
งานนำเสนอเรื่องการฝึกงาน
ปลาหางนกยูง.
ด.ญ.พรพิมล เทพปันไหว ม1/2 เลขที่5
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
สถานีวิจัยทดสอบพันธ์สัตว์นครพนม 30 มิถุนายน 2557
เก็บตก ประเด็น HOT.
ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์ โดยที่สัตว์ไม่ต้องมีการผสมพันธุ์กันเองตามธรรมชาติ การผสมเทียมสามารถทำได้กับสัตว์ทั้งที่มีการปฏิสนธิภายนอกร่างกายของสัตว์ เช่น การผสมเทียมปลา และการปฏิสนธิภายในร่างกายของสัตว์ เช่น โค กระบือ สุกร แพะ แกะ

หลักการผสมเทียม    1. การรีดเก็บน้ำเชื้อ ทำได้โดยใช้เครื่องมือช่วยกระตุ้นให้ตัวผู้หลั่งน้ำเชื้อออกมา โดยต้องพิจารณาถึง อายุ ความสมบูรณ์ของตัวผู้ ระยะเวลาที่เหมาะสม และ วิธีการซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของสัตว์ เช่น ไก่ สุกร โค และต้องฝึกให้พ่อพันธุ์เชื่องต่อการรีดน้ำเชื้อด้วยเช่นกัน          2. การตรวจคุณภาพน้ำเชื้อ เพื่อตรวจหาปริมาณของตัวอสุจิ และการ เคลื่อนไหวของตัวอสุจิด้วยกล้องจุลทรรศน์ เพื่อดูความแข็งแรง อัตราตัวเป็น และตัวตาย           3. การละลายน้ำเชื้อ เป็นการเติมน้ำยาเลี้ยงเชื้อลงในน้ำเชื้อ เพื่อเพิ่มปริมาณน้ำเชื้อให้เพียงพอ ในการแบ่งฉีดให้กับตัวเมียหลาย ๆ ตัว น้ำยาเลียงเชื้อที่เติม เช่น ไข่แดง Sodium citrate ยาปฏิชีวนะ      

   4. การเก็บรักษาน้ำเชื้อ มี 2 แบบคือ น้ำเชื้อสด หมายถึงน้ำเชื้อที่ละลายแล้ว และเก็บไว้ที่อุณหภูมิ 4-5 องศาเซลเซียส จะอยู่ได้นานเป็นเดือน แต่ถ้า เก็บที่ อุณหภูมิ 15-20 องศาเซลเซียส จะเก็บได้นานประมาณ 4 วัน อีก ชนิดคือ ส่วนน้ำเชื้อแช่แข็ง หมายถึงน้ำเชื้อที่นำไปทำให้เย็นจนแข็ง แล้ว นำไปเก็บไว้ในไนโตรเจนเหลวที่อุณหภูมิ -196 องศาเซลเซียส สามารถ เก็บได้นานเป็นปี           5. การฉีดน้ำเชื้อ สัตว์ตัวเมียที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นแม่พันธุ์ ที่จะได้รับการฉีด น้ำเชื้อ จะต้องอยู่ในวัยที่ผสมพันธุ์ได้ การฉีดน้ำเชื้อ ต้องฉีดในระยะที่ตัวเมียเป็น สัด ซึ่งเป็นระยะไข่สุก สังเกตได้โดย สัตว์จะเบื่ออาหาร กระวนกระวาย ร้องบ่อย มี น้ำเมือกไหลที่อวัยวะสืบพันธุ์ และไล่ขี่ตัวอื่น หรือยอมให้ตัวอื่นขึ้นทับ

สัตว์ที่มีการปฏิสนธิภายนอกร่างกาย

การถ่ายฝากตัวอ่อน   การถ่ายฝากตัวอ่อน เป็นวิธีการขยายพันธุ์แบบใหม่วิธีหนึ่ง โดยมีหลักการสำคัญ คือ การนำตัวอ่อนที่เกิดจากการปฏิสนธิระหว่างพ่อพันธุ์และแม่พันธุ์ออกมาจากมดลูก ของแม่พันธุ์ แล้วนำไปฝากใส่ใว้ในมดลูกของตัวเมียตัวอื่นที่เตรียมไว้เพื่อให้ตั้งท้อง แทนแม่พันธุ์ ซึ่งทำให้สามารถใช้ประโยชน์จากแม่พันธุ์ได้อย่างคุ้มต่า เพราะแม่พันธุ์ มีหน้าที่เพียงผลิตตัวอ่อน โดยไม่ต้องตั้งท้อง ซึ่งวิธีการถ่ายฝากตัวอ่อนนี้จะทำได้แต่ เฉพาะสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมที่ออกลูกเป็นตัว และออกลูกครั้งละ 1 ตัว และใช้เวลา ตั้งท้องนาน

การปฏิสนธิภายในร่างกาย หมายถึง การที่สเปิร์มเข้าไปผสมกับไข่ภายในตัวของสัตว์ หลังจากนั้นไข่ที่ผสมแล้ว ก็จะเจริญเติบโตในร่างกายของสัตว์เพศเมีย ทำให้สัตว์เพศเมียตั้งท้อง และเมื่อท้องแก่จนได้ระยะเวลาคลอด ก็จะออกลูกมาเป็นตัว ที่มีลักษณะคล้ายสัตว์เป็นพ่อหรือแม่ สัตว์ที่ออกลูกเป็นตัว จะมีการปฏิสนธิภายในเสมอ ได้แก่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม เช่น คน แมว สุนัข ช้าง ม้า วัว ควาย ปลาวาฬ ปลาโลมา เป็นต้น แต่สัตว์บางชนิดที่ออกลูกเป็นไข่ ก็มีการปฏิสนธิภายในด้วยเช่นกัน โดยจะออกลูกมาเป็นไข่ที่มีเปลือกแข็งหุ้ม เมื่อวางไข่แล้ว สเปิร์มไม่สามารถเข้าไปผสมกับไข่ได้ ฉะนั้นสเปิร์มต้องเข้าไปผสมกับไข่ก่อนที่จะวางไข่คือ ต้องไปผสมในตัวเมีย แล้วฝักเป็นตัวภายนอกร่างกาย ได้แก่ สัตว์ปีก เช่น นก เป็ด ไก่ ห่าน สัตว์เลื้อยคลาย เช่น จระเข้ เต่า งู เป็นต้น