ตัวเก็บประจุ (CAPACITOR)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อุปกรณ์โฟโต้ (Photo device)
Advertisements

ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
บทที่ 8 Power Amplifiers
วงจรสวิตช์ประจุ(Switched Capacitor)
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
X-Ray Systems.
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
Welcome to Electrical Engineering KKU.
5.9 Capacitance พิจารณาแผ่นตัวนำที่มีประจุอยู่และแผ่นตัวนำดังกล่าววางอยู่ในสาร dielectric ค่าควรจุของตัวเก็บประจุคือการนำเอาประจุที่เก็บสะสมหารกับความต่างศักย์ระหว่างสองแผ่นตัวนำ.
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
การสร้างสื่อภาพเคลื่อนไหว
ระบบการสื่อสารข้อมูล
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
8. ไฟฟ้า.
โรงเรียนวัดปากน้ำฝั่งเหนือ
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
กระแสไฟฟ้า Electric Current
ENCODER.
Fuel cell Technology  เซลล์เชื้อเพลิง.
ลำโพง (Loud Speaker).
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
หน่วยความจำ (Memory Unit)
การใช้โสตทัศนูปกรณ์ในห้องเรียน
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
สมบัติพื้นฐานและการเลือกใช้ประโยชน์ของเทอร์โมพลาสติก
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
เครื่องมืออุปกรณ์งานเดินสายไฟฟ้าในอาคาร
Touch Screen.
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
การวัดและทดสอบการทำงานของวงจรเครื่องส่งวิทยุ
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Mold Design # 4 ผิวแบ่งส่วนแม่พิมพ์และระบบป้อน
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 6 วงจร TUNE.
การใช้งาน โวลท์มิเตอร์
เป็นแหล่งพลังงานจ่ายไฟ ให้แก่มอเตอร์สตาร์ท และ
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
เตาไฟฟ้า.
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
เครื่องดูดฝุ่น.
เตาไมโครเวฟ.
ไดร์เป่าผม.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
การอ่านสเกลบนหน้าปัดในการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC.V )
การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
ต้นทุนการผลิต.
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
นาย วิภาสวิชญ์ ชัชเวช ปวช . 2 แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัย เทคนิคมาบตาพุด.
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ วงจรไฟฟ้า LC ค่า RMS หมายความว่าอย่างไร
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวเก็บประจุ (CAPACITOR) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เก็บประจุไฟฟ้าและคายประจุไฟฟ้า สัญลักษณ์ สัญลักษณ์

ตัวเก็บประจุจะประกอบด้วยสารตัวนำ 2 ชิ้นมาวางในลักษณะขนานใกล้ ๆ กัน แต่ไม่ได้ต่อถึงกัน ระหว่างตัวนำทั้งสองจะถูกกั้นด้วยฉนวนที่เรียกว่าไดอีเล็กตริก (Dielectric) ซึ่งไดอิเล็กตริกนี้อาจจะเป็นอากาศ ไมก้า พลาสติก เซรามิคหรือสารที่มีสภาพคล้ายฉนวนอื่น ๆ สัญลักษณ์ สัญลักษณ์

หน่วยของตัวเก็บประจุเรียก ว่า F (ฟารัส,ฟาราด) ชนิดของตัวเก็บประจุ  1. ตัวเก็บประจุแบบค่าคงที่(Fixed Capacitor) 2. ตัวเก็บประจุแบบปรับค่าได้(Variable Capacitor) 3. ตัวเก็บประจุแบบเลือกค่าได้(select Capacitor)

 1. ตัวเก็บประจุแบบค่าคงที่(Fixed Capacitor) 1.1 ชนิดอิเล็กโตรไลต์ (Electrolyte Capacitor) เป็นที่นิยมใช้กันมากเพราะให้ค่าความจุสูง มีขั้วบวกลบ เวลาใช้งานต้องติดตั้งให้ถูกขั้ว โครงสร้างภายในคล้ายกับแบตเตอรี่ นิยมใช้กับงานความถี่ต่ำหรือใช้สำหรับไฟฟ้ากระแสตรง มีข้อเสียคือกระแสรั่วไหลและความผิดพลาดสูงมาก

1.2 ชนิดแทนทาลั่มอิเล็กโตรไลด์ (Tantalum Electrolyte Capacitor)   มีความผิดพลาดน้อยใช้กับไฟฟ้ากระแสตรงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้ค่าความจุสูง ใช้แทนแบบอิเล็กโตรไลด์

1.3 ชนิดไบโพล่าร์ (Bipolar Capacitor) นิยมใช้กันมากในวงจรภาคจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงเครื่องขยายเสียง เป็นตัวเก็บประจุจำพวกเดียวกับชนิดอิเล็กโตรไลต์ แต่ไม่มีขั้วบวกลบ บางครั้งเรียกสั้น ๆ ว่า ไบแคป

1.4 ชนิดเซรามิค (Ceramic Capacitor) เป็นตัวเก็บประจุที่มีค่าไม่เกิน 1 ไมโครฟารัด (  F) นิยมใช้กันทั่วไปเพราะมีราคาถูก เหมาะสำหรับวงจรประเภทคัปปลิ้งความถี่วิทยุ ข้อเสียของตัวเก็บประจุชนิดเซรามิคคือมีการสูญเสียมาก

1.5 ชนิดไมล่าร์ (Mylar Capacitor) เป็นตัวเก็บประจุที่มีค่ามากกว่า 1 ไมโครฟารัด (  F) เป็นตัวเก็บประจุที่มีค่ามากกว่า 1 ไมโครฟารัด (  F) เป็นตัวเก็บประจุที่มีค่ามากกว่า 1 ไมโครฟารัด (  F) เป็นตัวเก็บประจุที่มีค่ามากกว่า 1 ไมโครฟารัด (  F) มีเปอร์เซ็นต์ความผิดพลาดและการรั่วไหลของกระแสน้อยกว่าชนิดเซรามิค เหมาะสำหรับวงจรกรองความถี่สูง มีเปอร์เซ็นต์ความผิดพลาดและการรั่วไหลของกระแสน้อยกว่าชนิดเซรามิค เหมาะสำหรับวงจรกรองความถี่สูง มีเปอร์เซ็นต์ความผิดพลาดและการรั่วไหลของกระแสน้อยกว่าชนิดเซรามิค เหมาะสำหรับวงจรกรองความถี่สูง มีเปอร์เซ็นต์ความผิดพลาดและการรั่วไหลของกระแสน้อยกว่าชนิดเซรามิค เหมาะสำหรับวงจรกรองความถี่สูง มีเปอร์เซ็นต์ความผิดพลาดและการรั่วไหลของกระแสน้อยกว่าชนิดเซรามิค เหมาะสำหรับวงจรกรองความถี่สูง

1.6 ชนิดฟีดทรู (Feed-through Capacitor) ลักษณะโครงสร้างเป็นตัวถังทรงกลมมีขาใช้งานหนึ่งหรือสองขา ใช้ในการกรองความถี่รบกวนที่เกิดจากเครื่องยนต์มักใช้ในวิทยุรถยนต์

1.7 ชนิดโพลีสไตรีน (Polystyrene Capacitor เป็นตัวเก็บประจุที่มีค่าน้อยระดับนาโนฟารัด (nF) มีข้อดีคือให้ค่าการสูญเสียและกระแสรั่วไหลน้อยมาก นิยมใช้ในงานคัปปลิ้งความถี่วิทยุและวงจรจูนที่ต้องการความละเอียดสูง จัดเป็นตัวเก็บประจุระดับเกรด A

1.8 ชนิดซิลเวอร์ไมก้า (Silver Mica Capacitor) เป็นตัวเก็บประจุที่มีค่า 10 พิโกฟารัด (pF) ถึง 10 นาโนฟารัด (nF) เปอร์เซ็นต์ความผิดพลาดน้อย นิยมใช้กับวงจรความถี่สูง จัดเป็นตัวเก็บประจุระดับเกรด A

2. ตัวเก็บประจุแบบปรับค่าได้ (Variable Capacitor) ค่าการเก็บประจุจะเปลี่ยนแปลงไปตามการเคลื่อนที่ของแกนหมุน โครงสร้างภายในประกอบด้วย แผ่นโลหะ 2 แผ่นหรือมากกว่าวางใกล้กัน แผ่นหนึ่งจะอยู่กับที่ส่วนอีกแผ่นหนึ่งจะเคลื่อนที่ได้ ไดอิเล็กตริกที่ใช้มีหลายชนิดด้วยกันคือ อากาศ ไมก้า เซรามิค และพลาสติก เป็นต้น

ถ้านำตัวเก็บประจุไปต่อขนานกับตัวเก็บประจุตัวอื่นจะเรียกว่า ทริมเมอร์ แต่ถ้านำตัวเก็บประจุไปต่ออนุกรมจะเรียกว่า แพดเดอร์ 3. ตัวเก็บประจุแบบเลือกค่าได้ (Select Capacitor) คือตัวเก็บประจุในตัวถังเดียว แต่มีค่าให้เลือกใช้งานมากกว่าหนึ่งค่า

การอ่านค่าตัวเก็บประจุ 1. ค่าไม่ถึง 1 ให้อ่านตอบได้เลยหน่วยเป็นไมโครฟาราด 2. ค่าไม่เกินร้อยให้อ่านตอบได้เลยหน่วยเป็นพิโคฟาราด 3. ค่าเกิน 100 แต่ลงท้ายด้วยศูนย์ให้อ่านตอบได้เลยหน่วยพิโคฟาราด 4. ค่าเกิน 100 แต่เลขสุดท้ายไม่ลงท้ายด้วยศูนย์ ให้แทนเลขสุดท้าย เป็นจำนวนศูนย์ ตอบเป็นพิโค ถ้าค่าที่ได้เกินพันให้ทำเป็นไมโคร

อักษรที่บอกค่าผิดพลาดและอัตราทนแรงดันบนตัวเก็บประจุ

ตัวอย่างการอ่านค่าตัวเก็บประจุ B 103K KCK B 103K KCK 100 MFD40v W-germany 100 MFD40v W-germany 150 uF 100 V 150 uF 100 V 2A503K 2A503K

.02K60 .02K60 1. 5 = 5 PF 2. 100 = 100 PF 3. 0.5 = 0.5 uF 4. 204 = 0.2 uF

5. 333 = 0.033 uF 6. 103 = 0.01 uF 7. 104 = 0.1 uF 8. 0.22 = 0.22 uF 9. 203 = 0.02 uF 10. 22 = 22 uF

จบการนำเสนอ