รายชื่อสมาชิก กลุ่ม1 1.นายวิสุทธิ์ ศิลารัตน์ ม.6/6 เลขที่ 5ก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

ภาระงาน กระบวนการ แหล่งข้อมูล ประเมินผล สรุป
นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
กลไกการวิวัฒนาการ.
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
ของส่วนประกอบของเซลล์
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Cloning : การโคลน , โคลนนิง
เทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
Introduction to Enzymes
นิยามศัพท์ทางเภสัชวิทยา
โครโมโซม.
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
ALL-L1 ALL-L1 Acute Leukaemia
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
ดีเอ็นเอ และวิทยาศาสตร์พันธุกรรม
ความหลากหลายของมนุษย์ในปัจจุบัน เชื้อชาติกับวัฒนธรรม
อาหารจากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ และการวิเคราะห์ความเสี่ยง
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
โครมาโตกราฟี โครมาโตกราฟี คือ การแยกสารโดย
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
7.Cellular Reproduction
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
รายวิชา ระบบฐานข้อมูล 1 หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
DNA สำคัญอย่างไร.
วิชาเลือกเสรี เรื่องภาษาไทย
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
การวิเคราะห์ DNA.
ความปลอดภัยของเทคโนโลยีทางDNAและมุมมองทางสังคมและจริยธรรม
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
อินเทอร์เน็ตInternet
การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ทบทวน เมนเดล ยีนและโครโมโซม
ดีเอ็นเอและเทคโนโลยีชีวภาพ
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
การถ่ายวีดีโอ.
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
พันธุศาสตร์เบื้องต้น (Principle of genetics)
การวิเคราะห์ DNA และการศึกษาจีโนม
เทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์ Animal biotechnology
เว็บเพจ (Web Page).
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
ซอฟต์แวร์ (Softwarre)
….WETCOME…. TO HOMEPAGE.
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
การให้เหตุผล.
พันธุศาสตร์โมเลกุล การปรับปรุงพันธุ์ ลักษณะตามต้องการ
ยีนและโครโมโซม ครูจุมพล คำรอต
ScienceDirec t จัดทำโดย ปทุมทิพย์ ลิ้มพงศานุ รักษ์
โครงสร้างของ DNA. ปี พ. ศ มัวริส เอช เอฟ วิลคินส์ (Maurice H. F
พันธุวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมพันธุศาสตร์
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายชื่อสมาชิก กลุ่ม1 1.นายวิสุทธิ์ ศิลารัตน์ ม.6/6 เลขที่ 5ก 1.นายวิสุทธิ์ ศิลารัตน์ ม.6/6 เลขที่ 5ก 2.นางสาวชาลิณี จีนขำ ม.6/6 เลขที่ 12ก 3.นางสาวธนภรณ์ การเนตร ม.6/6 เลขที่ 14ก 4.นางสาวพัชรา แสงเพ็ชร ม.6/6 เลขที่ 15ก 5.นางสาวอนินทิตา เขจรแข ม.6/6 เลขที่ 14ข

พันธุวิศวกรรม เทคโนโลยีทาง DNA เพื่อสร้าง DNA สายผสมหรือ DNA รีคอม-บิแนนท์ (recombinant DNA) และเพิ่มปริมาณ DNA ในหลอดทดลองเรียกว่าพันธุวิศวกรรม โดยกระบวนเปลี่ยนแปลงหรือดัดแปลงสารพันธุกรรม (genetic material; DNA) ของสิ่งมีชีวิต โดยการถ่ายทอดยีนที่ต้องการจากสิ่งมีชีวิตหนึ่ง เข้าสู่อีกสิ่งมีชีวิตหนึ่ง เพื่อสร้างสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่ที่มีลักษณะตามต้องการ การสามารถนำไปใช้เพื่อดัดแปลงให้ได้สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะตามความต้องการ

เอนไซม์ตัดจำเพาะ ในการโคลนยีนต้องใช้เอมไซม์ตัดจำเพาะในการตัดสายดีเอ็นเอที่ต้องการ จากนั้นนำไปเชื่อมต่อกับพาหะ (Vector) แล้วจึงพาหะถ่ายเข้าสู่เซลล์เจ้าบ้าน (Host cell) ค้นพบเป็นครั้งแรกโดย  แฮมิลตัน  สมิธ (Hamilton  Smith) และคณะ แห่งสถาบันแพทย์ศาสตร์จอห์น ฮอปกินส์ สหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ.2513 และต่อมาได้มีการค้นพบเอนไซม์ที่มีลักษณะเช่นนี้  แต่ตัดจำเพาะในตำแหน่งลำดับเบสต่างออกไป เอนไซม์ตัดจำเพาะแต่ละชนิดจะจดจำลำดับเบสในสาย DNA อย่างเฉพาะเจาะจง เรียกบริเวณดังกล่าวว่าตำแหน่งตัดจำเพาะ (restriction site) ปัจจุบันมีการค้นพบเอนไซม์ตัดจำเพาะมากกว่า 1200 ชนิด

แฮมิลตัน สมิธ (Hamilton Smith) ผู้ค้นพบเอนไซม์ตัดจำเพาะ

เอมไซม์ตัดจำเพาะสามารถแบ่งตามระบบการป้องกันตัวเองของแบคทีเรียจากผู้บุกรุกของดีเอ็นแปลกปลอมได้เป็น 3 แบบ โดยแบบที่ 2 (Type II) เป็นเอมไซม์ตัดจำเพาะที่นิยมใช้กันมากในการตัดต่อยีน เนื่องจากโมเลกุลไม่ซับซ้อน คือ ประกอบด้วยสายโพลีเปบไทด์เพียง 1 ชนิด มีการตัดที่ตำแหน่งจำเพาะ บริเวณตำแหน่งจดจำบนดีเอ็นเอทำให้ได้ขนาดที่แน่นอน และใช้เพียง Mg++ เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา นอกจากนี้ในการเติมหมู่เมธิลให้กับเบสของดีเอ็นเอนั้นต้องอาศัยเอนไซม์อีกชนิดหนึ่ง

ปัจจุบันเอมไซม์ตัดจำเพาะที่สกัดได้จากแบคทีเรียชนิดต่างๆ มีจำนวนมากว่า 1200 ชนิด ซึ่งการเรียกชื่อใช้ระบบอักษรภาษาอังกฤษ 3 ตัว และพิมพ์ตัวเอน โดยอักษรตัวที่ 1 คือ อักษรตัวแรกของชื่อ Genus ใช้เป็นตัวพิมพ์ใหญ่ อักษรตัวที่ 2 และ 3 เป็นอักษร 2 ตัวแรกของชื่อ Species ใช้ตัวพิมพ์เล็ก ถ้ามีรหัสของสายพันธุ์ก็ให้ใส่หลังอักษร 3 ตัวแรก และสุดท้ายเป็นเลขโรมันซึ่งบอกถึงลำดับของเอนไซม์ที่สกัดได้จากแบคทีเรีย เช่น EcoRI สกัดมาจาก Escherichia coli RY13

ตัดด้วยเอนไซม์ตัดจำเพาะ เมื่อเอนไซม์ตัดเส้นดีเอ็นเอขาดออกจากกันแล้ว จะทำให้ได้ปลายเดี่ยวทั้ง 2 ปลาย ที่รอยตัดของสาย DNA ซึ่งมีนิวคลีโอท์สายเดี่ยวยื่นออกมา เรียกปลายสาย DNA ที่เกิดขึ้นชิ้นนี้ว่า ปลายเหนียว (sticky end) แต่ถ้าไม่เกิดปลายสาย DNA เป็นสายนิวคลีโอไทด์สายเดี่ยว เนื่องจากจุดตัดของสาย DNA ทั้งสองเส้นอยู่ตรงกันพอดี ปลายรอยตัด DNA เช่นนี้ เรียกว่า ปลายทู่ (blunt end) ตัดด้วยเอนไซม์ตัดจำเพาะ ปลายทู่ ปลายเหนียว

แม้ว่าตำแหน่งการตัดจำเพาะของเอนไซม์ตัดจำเพาะแต่ละชนิดจะแตกต่างกัน แต่หากสังเกตจะพบว่ามีลักษณะร่วมกันคือ การเรียงลำดับเบสในบริเวณดังกล่าวในทิศทางจาก 5 ́ ไปสู่ 3 ́ จะเหมือนกันทั้งสองสายของสายดีเอ็นเอ

การเชื่อมต่อสาย DNA ด้วยเอนไซม์ DNA ไลเกส จากการตัดสาย DNA ของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกัน จะนำมาเชื่อมต่อกันได้ด้วยเอนไซม์ DNA ไลเกส ซึ่งสามารถเร่งปฏิกิริยาการสร้างพันธะ โคเวเลนต์ระหว่างสองโมเลกุลของ DNA ให้เชื่อมต่อกันได้ จากการตัดและการเชื่อมต่อสาย DNA นี้ทำให้เกิดสาย DNA รีคอมบิแนนท์ขึ้น

การโคลนยีน (Cloning Gene) ความหมาย การโคลนนิ่ง คือ การสร้างสัตว์ตัวใหม่ขึ้นมาโดยไม่ใช้อสุจิของเพศผู้ แต่ใช้นิวเคลียสจากเซลล์เต็มวัยไปใส่แทนที่เซลล์ไข่ ทำให้ได้สัตว์ตัวใหม่ที่มีรูปร่างหน้าตา เหมือนกับสัตว์ตัวที่เป็นเจ้าของเซลล์เดิมเกือบทุกประการ ถ้าเจ้าของเซลล์เป็นเพศเมียก็จะได้สัตว์เป็นเพศเมีย ถ้าเจ้าของสัตว์เป็นเพศผู้จะได้สัตว์ใหม่เป็นเพศผู้เหมือนกับเจ้าของเซลล์เดิมทุกประการ เหมือนแกะออกมาจากเบ้าพิมพ์เดียวกัน

11

เมื่อพูดถึงโคลนนิ่ง สาธารณชนมักคิดไปไกลถึงการโคลนนิ่งมนุษย์โดย ปะติดปะต่อเรื่องราวจากความสำเร็จของการโคลนนิ่งแกะดอลลี่ ซึ่งถือ กำเนิดเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม ค.ศ.1996 แต่ที่สาธารณชนให้ ความสนใจน้อยกว่าคือแกะ ดอลลี่นั้นเจ็บป่วยด้วยโรคภัยไข้เจ็บหลาย ชนิด ได้แก่ ข้ออักเสบอย่างรุนแรงและโรคปอดเสื่อมสภาพ ทำให้ นักวิทยาศาสตร์ตัดสินใจยุติชีวิตมันด้วยความเมตตาดังที่เรียกว่า  การุณยฆาต (Euthanasia)

อ้างอิง http://conf.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/gene/gene.pdf http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science03/32/2/genetic/content/genetic%20engineering.html http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/science04/27/contents/genetics-905c.html