หน่วยที่ 4 การปรับปรุงตัวประกอบกำลัง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
Advertisements

บทที่ 8 Power Amplifiers
วงจรสวิตช์ประจุ(Switched Capacitor)
วงจรลบแรงดัน (1).
X-Ray Systems.
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
Welcome to Electrical Engineering KKU.
โดย นายชญาน์ แหวนหล่อ นายธนวัฒน์ วัฒนราช
จะประหยัด พลังงาน ได้อย่างไร? ถ้ายังไม่รู้ว่า เค้าคิดค่าไฟ เรายังไง???
โรงเรียนวัดปากน้ำฝั่งเหนือ
ช่างสถานีไฟฟ้าย่อย หน่วยไฟฟ้า งานซ่อมบำรุง
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ EG 3 กันยายน 2551.
Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC.
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
ENCODER.
โรงไฟฟ้าพลังงานลม.
พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
CHAPTER 4 Circuit Theorems
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
Second-Order Circuits
CHAPTER 10 AC Power Analysis
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
ชุดวิชา : การประเมินแรงม้าเครื่องจักร
มาตราส่วนในงานเขียนแบบ วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี
หม้อแปลง.
การคำนวณค่าไฟฟ้า.
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
การวัดและทดสอบการทำงานของวงจรเครื่องส่งวิทยุ
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 6 วงจรไฟฟ้าสามเฟส Three-Phase Circuits (Part II)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
หลักการประหยัดพลังงาน และเครื่องมือวัดการใช้พลังงาน
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)*
อุปกรณ์ไฟฟ้าโดยทั่วไป (General Electric Equipment)
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
การประหยัดพลังงานในระบบส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า
การใช้มัลติมิเตอร์แบบแอนาลอกวัดค่าความต้านทาน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
หน่วยที่ 6 วงจร TUNE.
การใช้งาน โวลท์มิเตอร์
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน
กฤษ เฉยไสย ธวัตชัย สิ้นภัย ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยขอนแก่น
P1 การศึกษาการใช้อินเวอร์เตอร์เพื่อประหยัดพลังงานไฟฟ้าและควบคุมแรงดันน้ำ ในงานประปาและสุขาภิบาลกองอาคารและสถานที่ สำนักงานอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
การอ่านสเกลบนหน้าปัดในการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC.V )
การอ่านค่าความจุของคาปาซิเตอร์
วิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่
บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (AC Generator)
z ปลายทาง ต้นทาง โรงไฟฟ้า 24 KV 24 KV C C C แรงดันไฟฟ้า ระยะเวลา
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ 5 ชิ้น สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
Stepper motor.
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
Ch 12 AC Steady-State Power
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 4 การปรับปรุงตัวประกอบกำลัง เทคนิคการประหยัดพลังงาน 2104-2127

วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม อธิบายกำลังไฟฟ้าในระบบไฟฟ้ากระแสสลับได้ บอกความสำคัญของการปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้า บอกวิธีการปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า คำนวณหาค่าคาปาซิเตอร์ที่ใช้ปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าได้ บอกข้อดี-ข้อเสียในการติดตั้งคาปาซิเตอร์เพื่อปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้าได้

สามเหลี่ยมกำลังไฟฟ้า (POWER TRIANGLE) กำลังไฟฟ้าจริง (Real Power ,P) จะถูกใช้งานไปโดยตัวต้านทาน (R) จะปรากฏเป็นค่าจำนวนจริง หน่วยเป็น วัตต์ (Watt) กำลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ (Reactive Power, Q) เกิดขึ้นจากอุปกรณ์ประเภทตัวเหนี่ยวนำและตัวเก็บประจุในระบบไฟฟ้า หน่วยเป็นวาร์ (var) กำลังไฟฟ้าปรากฏ (Apparent Power , S) เป็นผลรวมของกำลังไฟฟ้าจริงและกำลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ หน่วยเป็น VA

การวัดค่ากำลังไฟฟ้า (ก) รูปแบบสามเหลี่ยมกำลัง (ข) รูปแบบเฟสเซอร์ P Q S (kVA) (kVA) บทที่4 การปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้า จากคู่มือผู้เรียน หน้า 54 อ้างอิงแผ่นใส ES 049 (ก) รูปแบบสามเหลี่ยมกำลัง (ข) รูปแบบเฟสเซอร์

ในระบบมีประสิทธิภาพการส่งกำลังที่ดี คือ ค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้ามีค่าเท่ากับ 1 กล่าวคือ กำลังไฟฟ้าจริงเท่ากับ กำลังไฟฟ้าปรากฏ ไม่มีค่าของกำลังไฟฟ้ารีแอกตีฟ

ตัวอย่างการคำนวณหาค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า โรงงานหนึ่ง ใช้ระบบไฟ 3 เฟส แรงดัน 380 V. อ่านกระแสจากมิเตอร์ได้ 1,266 A. อ่านกำลังจากมิเตอร์ได้ 500 kW. P = 3 VI cos  แทนค่า 500 kw = (1.732 * 380 * 1,266) cos  /1,000 cos  = 0.600 ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า = 0.600

การปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า บทที่4 การปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้า จากคู่มือผู้เรียน หน้า 56 อ้างอิงแผ่นใส ES 050

ตัวอย่างการปรับค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ กระแสลดลง เมื่อต่อคาปาซิเตอร์ 100 A 80 A 100 A I IL I IL 100 A 60 A G Load G Load กระแสที่จ่ายโดยคาปาซิเตอร์

วิธีการปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า บทที่4 การปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้า จากคู่มือผู้เรียน หน้า 61 อ้างอิงแผ่นใส ES 054

ลักษณะมุมที่เปลี่ยนแปลงเมื่อต่อคาปาซิเตอร์ kW  1  2 kvar 2 kvar 1 kVA 2 kVA 1

การคำนวณหาค่าคาปาซิเตอร์ Q/P = tan  kvar 1 = kW. tan 1 เมื่อต้องการปรับค่า PF ต่อคาปาซิเตอร์เข้ากับวงจร ค่ากิโลวาร์ที่ได้จาก คาปาซิเตอร์จะมีทิศทางตรงกันข้ามกับกิโลวาร์ของวงจรไฟฟ้าหรือโหลด (kvar) จะทำให้ kvar 1 ลดลงเหลือเป็น kvar 2 ขนาดของกิโลวาร์หาได้จาก kvar = kW. tan ขนาดของคาปาซิเตอร์ที่ใส่เข้าไปเพื่อให้ได้ kvar 2 คือ kvar1- kvar2 (ขนาดของคาปาซิเตอร์เป็น กิโลวาร์ ดังนี้ Ckvar = kvar1- kvar2 จะได้ Ckvar = kW. ( tan 1- tan 2)

ผลของตัวประกอบกำลังไฟฟ้ามีค่าสูง บทที่4 การปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้า จากคู่มือผู้เรียน หน้า 57 อ้างอิงแผ่นใส ES 051

กราฟแสดงค่ากำลังสูญเสียในสาย บทที่4 การปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้า จากคู่มือผู้เรียน หน้า 58 อ้างอิงแผ่นใส ES 052

กราฟแสดงระบบไฟฟ้าจ่ายโหลดได้เพิ่มขึ้น บทที่4 การปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้า จากคู่มือผู้เรียน หน้า 60 อ้างอิงแผ่นใส ES 053

การติดตั้งคาปาซิเตอร์ บทที่4 การปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้า จากคู่มือผู้เรียน หน้า 62 อ้างอิงแผ่นใส ES 055

ตำแหน่งการติดตั้งคาปาซิเตอร์ บทที่4 การปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้า จากคู่มือผู้เรียน หน้า 62 อ้างอิงแผ่นใส ES 056

ข้อดีและข้อเสียในการติดตั้งคาปาซิเตอร์แต่ละแบบ บทที่4 การปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้า จากคู่มือผู้เรียน หน้า 62 อ้างอิงแผ่นใส ES 057

การคำนวณเกี่ยวกับกำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 การคำนวณเกี่ยวกับกำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า = กำลังไฟฟ้าจริง กำลังไฟฟ้าปรากฏ cos kW kVA kVA cos kVAr kVA sin หรือ kW tan 18 ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*

cos = ตัวอย่างการคำนวณ P = 1200 kW (Q) บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 ตัวอย่างการคำนวณ จงหาค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า (PF) ถ้าพลังไฟฟ้าจริงที่วัดได้คือ 1,200 kW และค่าพลังไฟฟ้าปรากฏมีค่าเท่ากับ 1,540 kVA P = 1200 kW (Q) S = 1540 kVA cos = 19 ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*

cos = ตัวอย่างการคำนวณ kVA = P = 1200 kW Q = 1540 kVA S = ? บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)* 07/16/96 ตัวอย่างการคำนวณ จงหาค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า (PF) ถ้าพลังไฟฟ้าจริงที่วัดได้คือ 1,200 kW และค่าพลังไฟฟ้าต้านกับมีค่าเท่ากับ 1,540 kVAr P = 1200 kW Q = 1540 kVA S = ? kVA = ดังนั้น cos = 20 ดร. ศิริพรรณ ธงชัย*

สมาชิกในกลุ่ม อ.วิน พุทธนุกูล วิทยาลัยการอาชีพสระบุรี อ.วิน พุทธนุกูล วิทยาลัยการอาชีพสระบุรี อ.ประสิทธิ์ ภูมิภาค เทคโนโลยีชื่นชมไทย-เยอรมันสระบุรี อ.ลออ สายชุมดี เทคโนโลยีปทุมธานี อ.รณชัย อุปชีวะ วิทยาลัยเทคนิคอุดรธานี อ.สุขใจ วงษ์คต เทคโนโลยีแหลมฉบัง