สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
Advertisements

วงจรลบแรงดัน (1).
4.6 RTL (Resistor-Transistor Logic) Inverter
DSP 4 The z-transform การแปลงแซด
Bipolar Junction Transistor
วงจรออปแอมป์ไม่เชิงเส้นและวงจรกำเนิดสัญญาณ
บทที่ 6 วงจรออปแอมป์เชิงเส้น
โปรแกรมออกแบบวงจรกรองความถี่ต่ำผ่านโดยใช้ค่าความต้านทานและตัวเก็บประจุมาตรฐาน โดย  นายชญาน์ แหวนหล่อ รหัส นายธนวัฒน์ วัฒนราช รหัส
โดย นายชญาน์ แหวนหล่อ นายธนวัฒน์ วัฒนราช
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
โดย นายชญาน์ แหวนหล่อ นายธนวัฒน์ วัฒนราช
EEET0770 Digital Filter Design Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 2 z-Transform.
EEET0770 Digital Filter Design Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 3 Digital.
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ EG 3 กันยายน 2551.
Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC.
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
12.5 อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและการประยุกต์
พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
CHAPTER 8 Sinusoids and Phasors
CHAPTER 11 Two-port Networks
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
CHAPTER 4 Circuit Theorems
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
Second-Order Circuits
CHAPTER 10 AC Power Analysis
Sinusoidal Steady-State Analysis
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 6 วงจรไฟฟ้าสามเฟส Three-Phase Circuits (Part II)
ผศ.วิภาวัลย์ นาคทรัพย์ ภาควิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
Electrical Circuit Analysis 2
Sinusiodal Steady-State Analysis
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
ผศ.วิภาวัลย์ นาคทรัพย์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
สัปดาห์ที่ 16 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part II)
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)*
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
การสร้างแบบเสื้อและแขน
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Electronic Circuits Design
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
4 The z-transform การแปลงแซด
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วย วงจรกรองแบบช่องบาก รูปที่ 5.1 โครงสร้างของระบบที่ใช้วงจรกรองแบบช่องบาก (5-1) (5-10) (5- 11)
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วยตัว ชดเชยจากวิธีแผนผังค่าสัมประสิทธิ์ (CDM) รูปที่ 4.1 ระบบตามโครงสร้าง CDM.
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ทฤษฎีของมิลล์แมน.
Electronic Circuits Design
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s Domain (Part II)

จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อประยุกต์ใช้การแปลงลาปลาซเพื่อใช้ในการวิเคราะห์วงจร สามารถอธิบายการแปลงอุปกรณ์ต่างๆในโดเมนเวลาให้เป็นโดเมน s ใช้เทคนิคการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสตรงมาใช้ในการแก้ปัญหา เพื่อหาผลตอบสนองของวงจรเมื่อกำหนดให้แหล่งจ่ายเป็นแบบต่างๆได้

เนื้อหา การจำลองอุปกรณ์แบบพาสชีฟโดยใช้อิมพิแดนซ์และเงื่อนไขเริ่มต้น เทคนิคการวิเคราะห์วงจร การวิเคราะห์แบบโหนด การวิเคราะห์แบบแมช ทฤษฎีการวางซ้อน ทฤษฎีของเทวินินและนอร์ตัน

ผลตอบสนองต่อเวลาของวงจรไฟฟ้าโดยการใช้การแปลงลาปลาซ การจำลองอุปกรณ์แบบพาสชีฟโดยใช้อิมพิแดนซ์และเงื่อนไขเริ่มต้น ผลตอบสนองต่อเวลาของวงจรไฟฟ้าโดยการใช้การแปลงลาปลาซ ตัวแปรในวงจรเปลี่ยนจากอักษรตัวพิมพ์เล็กเป็นอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ แปลงแหล่งจ่ายจากโดเมนเวลาเป็นโดเมนความถี่โดยใช้ตารางที่ 5.1 อุปกรณ์แบบพาสซีฟนั้นจะเขียนแทนด้วยอิมพิแดนซ์ อุปกรณ์สะสมพลังงาน ตัวเหนี่ยวนำและตัวเก็บประจุ ต้องพิจารณาถึงเงื่อนไขเริ่มต้นตามตารางที่ 6.1

เทคนิคการวิเคราะห์วงจร การวิเคราะห์วงจรที่ประกอบด้วยแหล่งจ่ายอิสระและแหล่งจ่ายไม่อิสระ ตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำและตัวเก็บประจุ วงจรที่ประกอบด้วยออปแอมป์ ทำการแทนวงจรในโดเมนเวลาให้เป็นเมนความถี่เชิงซ้อน การวิเคราะห์วงจรแบบโหนด การวิเคราะห์วงจรแบบเมช การใช้ทฤษฎีการวางซ้อน การใช้ทฤษฎีเทวินินและนอร์ตัน การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s ใช้การแยกเศษส่วนย่อย แปลงกลับเป็นโดเมนเวลา

(ค) จงหาค่าของศูนย์และโพลของข้อ (ข) ตัวอย่างที่ 5 (ก) จงหากระแสที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวนำ โดยการวิเคราะห์วงจรแบบเมช เมื่อกำหนดให้เงื่อนไขเริ่มต้น (ข) จงหาฟังก์ชันถ่ายโอน (ค) จงหาค่าของศูนย์และโพลของข้อ (ข) วิธีทำ KVL ในเมช

KVL ในเมช KVL ในเมช

กระแสในโดเมน s ใช้แยกเศษส่วนย่อยหาค่า เปิดตารางที่ 5.1

ตัวอย่างที่ 6 วงจรกรองความถี่ต่ำผ่านอันดับที่ 1 กำหนดให้ออปแอมป์เป็นอุดมคติ (ก) จงหาฟังก์ชันถ่ายโอน (ข) จงหาค่าของศูนย์และโพลกำหนดให้ (ค) จงหาแรงดันเอาท์พุท เมื่อแหล่งจ่ายแรงดัน

วิธีทำ ที่เวลา จาคุณสมบัติของออปแอมป์ กระแสที่ไหลเข้าสู่ขาออปแอมป์ทั้งสองเป็นศูนย์ แรงดันที่ตกคร่อมขาทั้งสองมีค่าเท่ากัน กำหนดแรงดันโหนดต่างๆ และ KCL ที่โหนด

KCL ที่โหนด กำจัดตัวแปร จงหาฟังก์ชันถ่ายโอน

แทนค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ค่าของศูนย์ ค่าของโพล แรงดันเอาท์พุทในโดเมน s เมื่อ ใช้แยกเศษส่วนย่อย เปิดตารางลาปลาซ V

ตัวอย่างที่ 7 จงหาค่าแรงดัน โดยใช้ทฤษฎีการวางซ้อน วิธีทำ คือแรงดัน ที่พิจารณาเฉพาะแหล่งจ่ายแรงดันโดยที่แหล่งจ่ายกระแสเปิดวงจร คือแรงดัน ที่พิจารณาเฉพาะแหล่งจ่ายกระแสโดยที่แหล่งจ่ายแรงดันลัดวงจร

หาแรงดัน ครั้งที่ 1 โดยเปิดวงจรที่แหล่งจ่ายกระแส ค่าอิมพิแดนซ์สมมูล ใช้การแบ่งแรงดันเพื่อหาค่าแรงดัน

หาแรงดัน ครั้งที่ 2 ลัดวงจรที่แหล่งจ่ายแรงดัน ค่าอิมพิแดนซ์สมมูล KVL ในลูปกระแส

แรงดัน แทนค่าแรงดัน และ

ใช้การแยกเศษส่วนย่อย เทียบสัมประสิทธิ์ของ เทียบสัมประสิทธิ์ของ เทียบสัมประสิทธิ์ของ แรงดันในโดเมน s เปิดตารางที่ 5.1 เพื่อหาค่าแรงดันในโดเมนเวลา

ตัวอย่างที่ 8 จงหาแรงดัน วิธีทำ และ KCL ที่ Supernode

ใช้การแบ่งแรงดันเพื่อหาค่าแรงดัน ใช้แยกเศษส่วนย่อย เทียบสัมประสิทธิ์ของ เทียบสัมประสิทธิ์ของ เทียบสัมประสิทธิ์ของ แรงดันในโดเมน s เปิดตารางที่ 5.1 เพื่อหาค่าแรงดันในโดเมนเวลา V

ตัวอย่างที่ 9 จงวิเคราะห์หาแรงดัน โดยใช้ทฤษฎีของเทวนิน วิธีทำ หาแรงดัน โดยปลดตัวต้านทาน 2 โอห์ม จะได้แรงดันที่ตกคร่อมเท่ากับ ที่ supermesh เนื่องจาก KVL รอบลูปเส้นประโดยการปลดแหล่งจ่ายกระแสออกชั่วขณะ

ค่าอิมพิแดนซ์สมมูลของเทวินินโดยการลัดวงจรที่แหล่งจ่ายแรงดัน และเปิดวงจรที่แหล่งจ่ายกระแสและปลดค่าความโดยปลดตัวต้านทาน 2 โอห์ม ค่าอิมพิแดนซ์สมมูล หาค่าแรงดัน

ค่าแรงดัน ใช้แยกเศษส่วนย่อย แรงดันในโดเมน s เปิดตารางที่ 5.1 เพื่อหาค่าแรงดันในโดเมนเวลา

บทสรุปสัปดาห์ที่ 10 การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s ประยุกต์ใช้การแปลงลาปลาซเพื่อใช้ในการวิเคราะห์วงจร อธิบายการแปลงอุปกรณ์ต่างๆในโดเมนเวลาให้เป็นโดเมน s ใช้เทคนิคการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสตรงมาใช้ในการแก้ปัญหา ผลตอบสนองที่ได้ ผลตอบสนองชั่วขณะที่ขึ้นกับคุณลักษณะของวงจร ผลตอบสนองที่สภาวะคงตัวที่ขึ้นอยู่กับแหล่งจ่ายอินพุท