ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ขั้นตอนการเสนอแบบประเมินและพิจารณาโครงการวิจัย
Cloning : การโคลน , โคลนนิง
เทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
พฤติกรรมการถ่ายทอดลูกหลานของแมลง Brood Producing Behaviors in Insects
Physiology of Crop Production
A wonderful of Bioluminescence
วิชายาและการใช้ยาสัตว์ (Animal Drugs and Usage) รหัสวิชา
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
นิยามศัพท์ทางเภสัชวิทยา
โครโมโซม.
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
เทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยพืชกรองน้ำเสีย
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
ปัจจุบันทั่วโลกกำลังประสบปัญหากับวิกฤตการณ์ด้านการขาดแคลนพลังงานและปัญาโลกร้อนจากภาวะเรือนกระจกที่ทุกประเทศต้องร่วมกันแก้ไข ที่ผ่านมาการนำพืชอาหารมาใช้เป็นพลังงานทดแทน.
7.Cellular Reproduction
วัคซีน ( vaccine ) วัคซีนหมายถึง immunogen ที่เป็นอนุภาคหรือเซลล์ของเชื้อโรคซึ่งที่ทำให้ตายหรือมีความรุนแรงของโรคลดน้อยลงแล้วนำเข้าสู่ร่างกายมนุษย์หรือสัตว์เพื่อกระตุ้นให้สร้าง.
การเพิ่มชุดโครโมโซม Polyploidy.
สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) สวก.
DNA สำคัญอย่างไร.
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
รายชื่อสมาชิก กลุ่ม1 1.นายวิสุทธิ์ ศิลารัตน์ ม.6/6 เลขที่ 5ก
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
การผสมเทียม นางแก้วตา สุเดชมารค วิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์
สัมมนาวิชาการ Alien species กับการค้าสัตว์ป่า
สารต้านอนุมูลอิสระในอาหารไทย
ความหลากหลายทางชีวภาพ
วัชพืชที่สำคัญในนาข้าว และการป้องกันกำจัด
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
วิกฤตคุณภาพอุดมศึกษาไทย
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ทบทวน เมนเดล ยีนและโครโมโซม
อันตรายจากสารปรุงแต่งอาหาร
ดีเอ็นเอและเทคโนโลยีชีวภาพ
มาทำความรู้จักกลูต้าไธโอนกันเถอะ
( Natural farming) เกษตรธรรมชาติ.
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สร้อยข้อมือพลังงาน พลังงาน กำไลเป็นเทคโนโลยีที่ออกแบบมาเพื่อทำงานร่วมกับร่างกายของคุณ ก่อตั้งขึ้นโดยนักกีฬา, สร้อยข้อมือพลังงานเป็นที่ชื่นชอบในหมู่นักกีฬายอดเยี่ยม.
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
เทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์ Animal biotechnology
ประโยชน์ของผลไม้ไทย.
การเจริญเติบโตของพืช
DNA marker Selection (transformation, breeding) Identification
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
เชื้ออะโกรแบคทีเรียม
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
พันธุวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมพันธุศาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ

เทคโนโลยีชีวภาพ หมายถึง การนำเอาสิ่งมีชีวิตหรือชิ้นส่วนของสิ่งมีชีวิตมาปรับปรุง ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่มีประโยชน์มากขึ้น เช่น การถ่ายฝากตัวอ่อน การโคลน พันธุวิศวกรรม

การถ่ายฝากตัวอ่อน การถ่ายฝากตัวอ่อน เป็นวิธีที่พัฒนามาจากการผสมเทียม เพื่อให้ได้ปริมาณสัตว์พันธุ์ดีเพิ่มขึ้นในระยะเวลาที่เท่ากัน วิธีการถ่ายฝากตัวอ่อนนี้จะทำกับสัตว์ที่ตกลูกครั้งละ 1 ตัว และใช้เวลาอุ้มท้องนาน ๆ เช่น โค กระบือ เป็นต้น

การโคลน หรือ การปลูกถ่ายพันธุกรรม การโคลน (Cloning) คือ กรรมวิธีการนำเอา DNA ซึ่งเป็นตัวกำหนดลักษณะทางพันธุกรรมในเซลล์จากพืช หรือสัตว์ต้นแบบมากระตุ้นให้เจริญพันธุ์ เพื่อสร้างตัวใหม่

การโคลน (Cloning) เป็นการผลิตสิ่งมีชีวิตให้มีลักษณะพันธุกรรมเหมือนกันทุกประการ ทำให้สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเหมือนกันเป็นจำนวนมากภายในระยะเวลาอันสั้น ซึ่งทำให้ได้ทั้งพืชและสัตว์ อย่างเช่น การโคลนพืชซึ่งเป็นที่รู้จักกันมาก เนื่องจากมีการนำมาใช้ในวงการอุตสาหกรรม อย่างแพร่หลายใน พ.ศ. 2537 ที่เรียกว่า การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

การโคลนนิ่งสัตว์ (animal cloning) ดร.เอียน วิลมุต นักวิทยาศาสตร์ชาวสกอต ได้โคลนแกะดอลลี่สำเร็จด้วยวิธีการดังนี้

"คอปปี แคท "(CopyCat) หรือ ซีซี (CC) แมวตัวแรกของโลกที่โคลนขึ้น โดยทีมนักวิจัยของมหาวิทยาลัยเท็กซัส เอแอนด์เอ็ม (Texas A & M University)

ลูกแพะโคลนนิ่ง (กลาง) กับแพะต้นแบบเพศผู้(ขวา) โดยมีแม่อุ้มบุญ (ซ้าย) ที่ไม่มีความข้องเกี่ยวทางพันธุกรรมยืนอยู่ข้างๆ โดย ดร.รังสรรค์ พาลพ่าย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (มทส.)

พันธุวิศวกรรม พันธุวิศวกรรม (genetic engineering) หมายถึง การนำเอายีนจากสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งไปถ่ายฝากให้กับสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น โดยมียีนพาหะไปทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะต่างไปจากพันธุ์เดิมที่มีอยู่ในธรรมชาติ เช่น การนำยีนบางยีนจากปลาตัวใหญ่มาใส่ปลาตัวเล็ก แล้วทำให้ปลาเล็กมีขนาดใหญ่กว่าเดิม หรือหนูเล็กได้รับยีนสร้างฮอร์โมนเจริญเติบโต (growth hormone (GH)) ของมนุษย์เข้าไปทำให้ขนาดใหญ่ขึ้น

ดีเอ็นเอพาหะ (DNA vector) เป็นตัวรับชิ้นส่วนของยีนเพื่อต้องการศึกษา แล้วนำไปสอดแทรกในดีเอ็นเอหรือโครโมโซมเป้าหมาย ดีเอ็นเอพาหะที่นิยมใช้กัน คือ พลาสมิต (plasmid) ตามปกติพบอยู่ในเซลล์แบคทีเรีย มีขนาดเล็ก รูปร่างกลม สามารถจำลองตัวเองได้ พบอยู่เป็นอิสระไม่รวมกับโครโมโซมแบคทีเรีย มีสมบัติทำให้แบคทีเรียสามารถต้านยาปฏิชีวนะ ต้านโลหะหนัก และชักนำให้เกิดปมขึ้นในพืช

ประโยชน์ของพันธุวิศวกรรม มีดังนี้ ประโยชน์ของพันธุวิศวกรรม มีดังนี้ 1. ผลิตฮอร์โมน เช่น ฮอร์โมนอินซูลิน เอนเดอร์ฟิน เป็น ฮอร์โมนอินซูลินนี้แต่ก่อนอาจสกัดได้จากเนื้อเยื่อหรือต่อมไร้ท่อของสัตว์ แต่ปัจจุบันผลิตได้จากแบคทีเรียและยีสต์ 2. สร้างวัคซีน ใช้สร้างวัคซีนที่ปราศจากสารแอนติเจนที่มีพิษ ป้องกันโรคตับอักเสบ โรคเท้าในสัตว์ และโรคกลัวน้ำ 3. แก้ไขโรคพันธุกรรมบางชนิด โดยการตรวจพันธุกรรมทารกก่อเกิดโดยการใช้น้ำคร่ำ เพื่อตรวจหา DNA ที่ผิดปกติแล้วทำการแก้ไข DNA

4. การปรับปรุงพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ เช่น การสร้างสัตว์ให้มีขนาดใหญ่ขึ้น โตเร็ว มีปริมาณเนื้อมาก หรือให้ได้พันธุ์พืชที่ทนทานต่อแมลงศัตรูพืช ให้ผลผลิตมาก เป็นต้น