บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Dr.Smira Chittaladakorn
Advertisements

กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ความตรง (validity) ความตรงตามเนื้อหา (content validity)
Quality Testing of Tests การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การจัดกระทำข้อมูล.
4. Research tool and quality testing
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การวิเคราะห์ข้อสอบ Item analysis.
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การวิจัยและพัฒนาผู้เรียนด้วย E-Learning
แบบสอบถาม ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป (ด้านสังคมเศรษฐกิจ) ส่วนที่ 2 ความรู้
การตรวจสอบความเชื่อมั่น
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
Criterion-related Validity
คุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 6 Selection กระบวนการพิจารณาคนจำนวนมากให้ เหลือจำนวนเท่าที่องค์การต้องการ Negative Process.
แบบสอบถาม แบบทดสอบ แบบสัมภาษณ์ จิตพิสัย พุทธิพิสัย เครื่องมือที่ใช้
แบบทดสอบอิงกลุ่มอิงเกณฑ์
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
สื่อประกอบการสอน รายวิชา วิธีวิจัยวิทยาทางนิเทศศาสตร์ COMM (3-0- 6)____________________________________________________________________________________________.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ผศ.ดร.ภัทรวรรธน์ จีรพัฒน์ธนธร
แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ.
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้ 4122608A โปรแกรมประยุกต์ด้านวิทยาศาสตร์ อ.ชาณิภา ซ่อนกลิ่น

การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้ ในการเลือกเครื่องมือวิจัย เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ หรือ แบบทดสอบ ผู้วิจัยสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของงานวิจัยความเชื่อมั่นเป็นคุณสมบัติที่สำคัญประการหนึ่งของเครื่องมือวิจัยในการวัดทุกชนิด ถ้าเครื่องมือในการวัดชนิดใดขาดความเชื่อมั่นแล้วผลที่ได้จากการวัดก็น่าจะไม่มีความหมายอะไร ตัวอย่างเช่น ครูที่ใช้แบบทดสอบที่ไม่มีความเชื่อมั่น หรือมีความเชื่อมั่นต่ำไปสอบกับนักเรียน คะแนนที่ได้จากการสอบซึ่งเปลี่ยนไปเปลี่ยนมา ไม่คงที่แน่นอน ก็จะไม่สามารถนำมาใช้แปลความหมายว่าเด็กแต่ละคนมีความสามารถเพียงใด คะแนนที่ขาดเชื่อมั่นนี้ก็แทบจะเรียกได้ว่า ไม่มีความหมายอะไร

ลักษณะสำคัญที่ต้องพิจารณา 1.ความเชื่อถือได้ (Reliability) ผลการวัดมีความสม่ำเสมอ แน่นอน คงที่มากน้อยเพียงใด 2.ความตรง(Validity) เครื่องมือที่ใช้วัด ได้วัดในสิ่งที่ต้องการศึกษาถูกต้องหรือไม่และครบถ้วนเพียงใด เกณฑ์การวัดความตรงจำแนกได้ 3 อย่าง คือ ความตรงเนื้อหา ความตรงโครงสร้าง และความตรงตามพยากรณ์ 3.ความเป็นปรนัย(Objectivity) เครื่องมือที่ใช้วัดมีคำถามชัดเจนหรือไม่ ทุกคนอ่านแล้วเข้าใจตรงกัน การตรวจให้คะแนนมีความแน่นอนตรงกันและมีความชัดเจนในการแปลความหมาย

ลักษณะสำคัญที่ต้องพิจารณา 4.อำนาจจำแนก(Discrimination) เครื่องมือที่ใช้วัดสามารถจำแนกบุคคลออกเป็น 2 กลุ่ม ที่มีลักษณะต่างกันในเรื่องที่ศึกษา เช่น แบบสอบถามที่มีมาตรวัดทัศนคติ ที่มีการจำแนกทัศนคติออกเป็น 2 ด้าน คือ ด้านลบ และ ด้านบวก 5.ความยากง่าย(Difficulty) ใช้กับเครื่องมือวัดที่เป็นแบบทดสอบ เช่น แบบวัดความถนัด แบบทดสอบ หรือข้อสอบ ในระบบอิงกลุ่มเป็นสำคัญ

การตรวจสอบความเชื่อมั่น การใช้โปรแกรม PSPP ในการตรวจสอบเครื่องมือวัด การตรวจสอบความเชื่อมั่น

การตรวจสอบความเชื่อมั่น โปรแกรม PSPP ได้กำหนดวิธีการตรวจสอบความเชื่อมั่นของเครื่องมือวิจัย 2 วิธี ดังนี้ 1. วิธีการแบ่งครึ่ง (Split-Half Method) แบ่งเครื่องมือวัดออกเป็น 2 ส่วนในลักษณะคู่ขนานที่มีข้อคำถามคล้ายคลึงกันหรือเหมือนกัน เช่น ในแบบสอบถามที่มีข้อคำถาม 10 ข้อ อาจแบ่งข้อคู่กับข้อคี่ หรือ ห้าข้อแรกกับห้าข้อหลังที่มีวัตถุประสงค์ในการวัดคล้ายคลึงกันหรือเหมือนกัน โดยแต่ละส่วนคือคะแนนแต่ละชุด นำคะแนนแต่ละชุดนี้หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์หาได้จากสูตร Spearman-Brown

การตรวจสอบความเชื่อมั่น โปรแกรม PSPP ได้กำหนดวิธีการตรวจสอบความเชื่อมั่นของเครื่องมือวิจัย 2 วิธี ดังนี้ 2. สัมประสิทธิ์ Cronbach's Alpha (Cronbach's Alpha Coefficient) เป็นค่าที่ใช้วัดความสอดคล้องภายในคำตอบของเครื่องมือวัด วิธีการทดสอบนี้เป็นที่นิยมกันมาก เพราะไม่ต้องวัดซ้ำหรือแบ่งครึ่ง และเหมาะกับข้อคำถามที่ลักษณะให้คะแนนแบบจัดลำดับ หรือแบบสอบถาม หรือแบบวัดทัศนคติ หรือแบบทดสอบประเมินค่า

การตรวจสอบความเชื่อมั่น ตัวอย่าง1 แบบทดสอบวิชาตอมพิวเตอร์มี 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน ทดสอบนักศึกษา 10 คนได้คะแนนดังนี้

การตรวจสอบความเชื่อมั่น 1. จงทดสอบความเชื่อถือได้ของเครื่องมือวัดโดยใช้วิธี Split-Half 2. จงทดสอบความเชื่อถือได้ของเครื่องมือวัดโดยใช้วิธี Cronbach's Alpha 3. จงตรวจสอบข้อคำถามใด เมื่อตัดไปแล้วจะทำให้ความน่าเชื่อถือได้ของแบบทดสอบสูงขึ้น

การตรวจสอบความเชื่อมั่น ตัวอย่าง2 ในการแข่งขันประกวดร้องเพลงระดับประเทศมีคณะกรรมการที่ให้คะแนน 5 คน และมีผู้เข้าประกวด 10 คน จงตรวจสอบการให้คะแนนของกรรมการแต่ละท่านว่าสอดคล้องกันหรือไม่โดยใช้วิธี Cronbach's Alpha และกรรมการคนใด ถ้าไม่ร่วมให้คะแนน แล้วจะทำให้ผลความสอดคล้องสูงขึ้น