การเข้ารหัสข้อมูลและการถอดรหัสข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
Advertisements

แนวคิดในการเขียนโปรแกรม
การศึกษาและประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูล เจเมทัล Study of Evolutionary Algorithm in Multi- objective on Library jMetal.
รายวิชา ง40206 โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
Speed Increasing of Blum Blum Shub Generator
Blum Blum Shub Generator การเพิ่มอัตราเร็วของแหล่งกำเนิดบลัม บลัม ชับ
COE การแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอ็สเอ ระยะที่ 2 (Secret Sharing over RSA : Phase 2) อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน.
Probabilistic Asymmetric Cryptosystem
โดย นางสาววรรณวนัช โอภาสพันธ์สิน รหัส นางสาวก้องกิดากร วรสาร รหัส
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
Private Key Crypto หรือ Single-key algorithm หรือ one-key algorithm
A Known-Plaintext Attack of the LFSR Stream Cipher
Blum Blum Shub Generator การเพิ่มอัตราเร็วของแหล่งกำเนิดบลัม บลัม ชับ
การเขียนผังงาน.
Ordering and Liveness Analysis ลำดับและการวิเคราะห์บอกความ เป็นอยู่หรือความตาย.
รูปแบบการจัดวางสามารถปรับได้ตามความสะดวก -แบบตัวอักษรใช้ THsarabunPSK
ทบทวน Array.
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Office Access 2003
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
Algorithms.
การจำลองความคิด
Surachai Wachirahatthapong
การออกแบบโปรแกรมอย่างมีโครงสร้าง Structured Design
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Electronic SECurity with PKI
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
การจำแนกบรรทัดข้อความ
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
การเขียนโครงการ.
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
ผังงาน (Flowchart) มหาวิทยาลัยเนชั่น หลักการภาษาชุดคำสั่ง
แฟกทอเรียลและการเรียงสับเปลี่ยน
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
การออกแบบและการวิเคราะห์อัลกอริทึม
คริพโตกราฟี (Cryptography)
Block Cipher Principles
Flow Chart INT1103 Computer Programming
CHARPTER 3 การสอบถามข้อมูลพื้นฐาน
Cryptography.
เรื่องการออกแบบฐานข้อมูล
Week 12 Engineering Problem 2
การประมวลผลสายอักขระ
Week 12 Engineering Problem 2
วิชา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Introduction : Principle of Programming
การเข้ารหัสและการถอดรหัส
การเรียงสับเปลี่ยนและการจัดหมู่สิ่งที่ไม่แตกต่างกัน
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
หลักการแก้ปัญหา.
Chapter 04 Flowchart ผู้สอน อ.ยืนยง กันทะเนตร
Chapter 3 - Stack, - Queue,- Infix Prefix Postfix
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
โครงสร้างข้อมูลและอังกอลิทึม
หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
ความหมาย รูปแบบหนึ่งของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่ง มีการออกแบบบทเรียน โดยมีเป้าหมายที่จะเสนอ ข้อคำถามในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
Data Structure and Algorithms
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
การเข้าและการถอดรหัส
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเข้ารหัสข้อมูลและการถอดรหัสข้อมูล Basic Encryption and Decryption Techniques

คริพโตกราฟี (Cryptography) How are you feeling today HXEOWYLP 34ACJLKLO GDEABCQ…. Encryption Algorithm Plain text Key Ciphertext คริพโตกราฟี (Cryptography) เป็นการรวมหลักการและกรรมวิธีของการแปลงรูปข้อมูลข่าวสารต้นฉบับ ให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลข่าวสารที่ได้ผ่านการเข้ารหัส และการนำข่าวสารนี้ไปใช้งาน จะต้องมีการแปลงรูปใหม่ เพื่อให้กลับมาเป็นข้อมูลข่าวสารเหมือนต้นฉบับเดิม Plain text คือ ข้อมูลต้นฉบับซึ่งเป็นข้อความที่สามารถอ่านแล้วเข้าใจ Encryption Algorithm คือ ขั้นตอนวิธีในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการแปลงข้อมูลต้นฉบับเป็นข้อมูลที่ได้รับการเข้ารหัส Ciphertext คือ ข้อมูลหรือข่าวสารที่ได้รับการเข้ารหัส ทำให้อ่านไม่รู้เรื่อง Key คือ เป็นกุญแจที่ใช้ร่วมกับ อัลกอริทึมในการเข้ารหัส และถอดรหัส

เทคนิคและแนวทางในการเข้ารหัสข้อมูล เพื่อแปลงเพลนเท็กซ์ เป็นไซเฟอร์เท็ก แบบดั้งเดิมแบ่งได้ 2 วิธี ดังนี้ 1. เทคนิคการแทนที่ (Substitution Techniques) 1.1 การเข้ารหัสด้วยวิธีแทนที่แบบ caesar 1.2 การเข้ารหัสด้วยวิธีแทนที่แบบโมโนอัลฟาเบติค

1.1 เทคนิคการแทนที่แบบ caesar เป็นการแทนค่าแต่ละตัวอักษรด้วยสัญลักษณ์เพียงตัวเดียว เป็นวิธีทีง่ายที่สุด ใช้มาตั้งแต่สมัยจูเลียส ซีซาร์ ในการเข้ารหัสเนื้อความจดหมายส่งไปให้ทัพทหารระหว่างการรบ ตัวอย่าง ใช้ความสัมพันธ์ของอักษรในภาษาอังกฤษ 26 ตัว โดยที่ ตัวอักษรใน Cipher Text จะได้จาก Plain Text + ไปยัง 3 ลำดับของตัวอักษรในภาษาอังกฤษ ในทางกลับกัน Plain Text จะเท่ากับ Cipher Text - ไปยัง 3 ลำดับของตัวอักษรในภาษาอังกฤษ Plain Text : a b c d e f g h I j k l m n o p q r s t u v w x y z Cipher Text : d e f g h I j k l m n o p q r s t u v w x y z a b c เช่น Love You ---> 0ryh brx

1.2 เทคนิคการแทนที่ แบบ Monoalphabetic การเข้ารหัสด้วยวิธีแทนที่แบบโมโนอัลฟาเบติค (Monoalphabetic Substitution-Based Cipher) เป็นเทคนิคการเข้ารหัสอย่างง่าย โดยทำการจับคู่ตัวอักษร ระหว่างเพลนเท็กซ์ และไซเฟอร์เท็กซ์ มีข้อเสีย เนื่องจากทำให้เกิดการซ้ำกันของตัวอักษร และถอดรหัสได้ง่าย

ตัวอย่าง Plaintext = car Encrypt Cipher text คือ pkj

เทคนิคและแนวทางในการเข้ารหัสข้อมูล 2 เทคนิคการสับเปลี่ยน (Transposition Techniques) เป็นเทคนิคที่มีประสิทธิภาพดีกว่า สามารถแก้ปัญหาการซ้ำกันของตัวอักษรรวมถึงยากต่อการถอดรหัส ซึ่งประกอบด้วย 2.1 การเข้ารหัสด้วยวิธีการสับเปลี่ยนแบบเรลเฟ็นซ์ 2.2 การเข้ารหัสด้วยวิธีการสับเปลี่ยนแบบคอลัมน์

2.1 เทคนิคการสับเปลี่ยนแบบ เรลเฟ็น C m h t r o e w Plaintext : Come home tomorrow Ciphertext : Cmhmtmrooeoeoorw การเข้ารหัสด้วยวิธีการสับเปลี่ยนแบบเรลเฟ็นซ์ (Rail Fence Transposition Cipher) เป็นการเข้ารหัสอย่างง่าย ใช้ลักษณะของ Row-by-Row หรือ Zigzag

2.2 เทคนิคการสับเปลี่ยน แบบคอลัมน์ 1 4 3 5 8 7 2 6 C O M P U T E R t h i s e b c l a v r k n Column Key Key : computer Plaintext : this is the best class I have ever taken Ciphertext : TESVTLEEIEIRHBSESSHTHAENSCVKITAA การเข้ารหัสด้วยวิธีการสับเปลี่ยนแบบคอลัมน์ (Columnar Transposition Cipher) เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพวิธีหนึ่ง จะทำให้อักษรเดียวกันเมื่อผ่านการเข้ารหัสแล้วจะไม่มีการซ้ำกัน โดยการกำหนดคีย์ขึ้นมา  เรียงลำดับคอลัมน์ตามคีย์ตัวอักษร  นำ Plaintext ไปเรียงตามคอลัมน์  ทำการเข้ารหัสตามคีย์ และ คอลัมน์ที่กำหนด