สถานการณ์ปัญหาสุราในประเทศไทยและยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชาติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10
Advertisements

สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
สถานการณ์ความยากจน ของประเทศไทย
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่ม ที่มีแอลกอฮอล์
ทัศนคติและพฤติกรรมการเที่ยวกลางคืน
ผลงานวิจัย ทัศนคติการบริโภคเครื่องดื่มบำรุงกำลังของผู้ประกอบอาชีพถีบสามล้อในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก สิงหาคม 2543 โดย นายเกตุ ชูพันธ์ นายสมควร เดชะศิลารักษ์
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดจันทบุรี
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการรวบรวม ความคิดเห็นของประชาชนที่ซื้อคอมพิวเตอร์จากโครงการคอมพิวเตอร์ ไอซีที เพื่อคนไทย พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
นพ. ทักษพล ธรรมรังสี แผนงานพัฒนาศักยภาพนักวิจัยด้านนโยบายแอลกอฮอล์
นพ. ทักษพล ธรรมรังสี แผนงานพัฒนาศักยภาพนักวิจัย
เป้าหมายสำคัญของแผนยุทธศาสตร์ ปี 56 แผนงาน เป้าหมาย
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การแจกแจงปกติ.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
หกมิติความไม่เท่าเทียมระหว่างหญิงชาย หนทางเพื่อพัฒนาสู่ความเสมอภาค
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์ปัญหาสุราในประเทศไทยและยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชาติ นพ.ทักษพล ธรรมรังสี ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ

ขอบเขตการนำเสนอ สถานการณ์ ยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชาติ สถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สถานการณ์ผลกระทบ ยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชาติ

คำถามเกี่ยวกับสถานการณ์การบริโภค เมื่อเทียบกับประเทศตะวันตก ประเทศไทยมี คนดื่มเหล้า เยอะไหม คนดื่มเหล้าในประเทศไทย ดื่มบ่อยไหม นักดื่มไทยดื่มแต่ละที ดื่มเยอะไหม นักดื่มไทยดื่มเครื่องดื่มประเภทอะไรมากที่สุด

สถานการณ์ การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ปริมาณการบริโภคเฉลี่ยของประชากรไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ปริมาณการบริโภคเบียร์เพิ่มขึ้นถึง 12 เท่าระหว่างปี พ.ศ. 2530-2546 ปริมาณการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์นอกระบบภาษีสูงประมาณ 2 ลิตรของแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ต่อคนต่อปี สังคมไทยมีนักดื่มหน้าใหม่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ประมาณปีละ 2.6 แสนคน โดยเฉพาะกลุ่มประชากรเพศหญิง กลุ่มเยาวชน และ ประชากรอายุน้อย ซึ่งเป็นอนาคตของชาติมีการดื่มเพิ่มขึ้นชัดเจน

สถานการณ์การบริโภค 2550

ปริมาณเฉลี่ยต่อวันที่ดื่ม ปริมาณการบริโภคเฉลี่ย (กรัมของแอลกอฮอล์บริสุทธิ์) ต่อวัน และ ต่อวันที่ดื่ม (2550) ปริมาณเฉลี่ยต่อวัน ปริมาณเฉลี่ยต่อวันที่ดื่ม อายุ ชาย หญิง 12-19 31.34 7.84 118.35 61.95 20-24 29.68 15.05 91.3 67.3 25-44 37.92 9.9 91.74 51.69 45-65 27.44 12.61 72.28 45.67 Total 32.8 11.02 85.72 51.99 เบียร์ 6 % ขวดใหญ่ มีแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ 31 กรัม Source : The National Household Survey for Substance and Alcohol Use (NHSSA) by the Administrative Committee for Substance Abuse Research Network (ACSAN) 6

ปริมาณการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เฉลี่ยต่อประชากร 15 ปีขึ้นไป (หน่วย ลิตรของเครื่องดื่ม) พ.ศ. 2531-2549 ที่มา: กรมสรรพสามิต

Alcohol is no ordinary commodity ปริมาณการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เฉลี่ยต่อประชากร 15 ปีขึ้นไป (หน่วย ลิตรของแอลกอฮฮล์บริสุทธิ์), 1962-2001 Alcohol is no ordinary commodity 8

ร้อยละของผู้บริโภคจำแนกตามความถี่ พ.ศ.2539 และ 2550 ความถี่ในการบริโภค 2539 2550 % เปลี่ยนแปลง ทุกวันหรือเกือบทุกวัน 19.5 21.82 +6 1-2 ต่อสัปดาห์ 17.47 19.08 +4 1-2 ต่อเดือน 16.51 6.94 +46 นาน ๆ ครั้ง 47.26 32.63 -34 ที่มา: สำนักงานสถิติแห่งชาติ

สถานภาพการดื่มสุราของเยาวชนและประชากรไทย เบียร์ 6% 3.78 ขวดใหญ่ อายุ 12-19 20-24 25-49 50-65 ความชุกของผู้ดื่ม (%) ช 17.8 59.0 58.3 48.6 ญ 7.1 15.3 15.4 10.9 ปริมาณการดื่มต่อครั้ง (กรัมของแอลกอฮอล์บริสุทธิ์) 118.35 91.3 91.7 85.7 61.9 61.3 51.7 45.7 ปริมาณแอลกอฮอล์ต่อปี(กรัม) 11473 10832 13785 10017 2863 3612 4601 4022 จำนวนวันที่ดื่มหนักต่อปี (วัน) 9.39 8.77 8.25 8.58 3.95 4.6 5.6 3.5 เบียร์ 6% 1.95 ขวดใหญ่ ที่มา สถานภาพการบริโภคสุรา 2550 เบียร์ 6% 92 ขวดใหญ่ เบียร์ 6% 367 ขวดใหญ่ 10

ความชุกนักดื่ม 15 ปีขึ้นไป

ความชุกนักดื่ม 15-19 ปี

ปริมาณการบริโภค(แอลกอฮอล์บริสุทธิ์) 2540, 2551 ตามประเภทเครื่องดื่ม สไตล์ตะวันตก สไตล์พื้นเมือง Total 7.28 Total 7.71 2540 2551 13

ปริมาณการบริโภค(แอลกอฮอล์บริสุทธิ์) 2540, 2551 ตามที่มาของเครื่องดื่ม นำเข้า Total 7.28 ในประเทศ Total 7.71 2540 2551 14

คำถามเกี่ยวกับสถานการณ์การบริโภค เมื่อเทียบกับประเทศตะวันตก ประเทศไทยมี คนดื่มเหล้า เยอะไหม ไม่ คนดื่มเหล้าในประเทศไทย ดื่มบ่อยไหม ไม่ นักดื่มไทยดื่มแต่ละที ดื่มเยอะไหม เยอะ นักดื่มไทยดื่มเครื่องดื่มประเภทอะไรมากที่สุด สุรากลั่น

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การเริ่มต้นดื่ม ปัจจัย/ เงื่อนไข รายบุคคล ค่านิยมของสังคม การเข้าถึงเครื่องดื่ม (เศรษฐศาสตร์, กายภาพ, สังคม) การโฆษณา ปัจจัยสนับสนุนการดื่ม นโยบายแอลกอฮอล์ และการนำไปปฏิบัติ

พูดถึง ปัญหาจากแอลกอฮอล์ ท่านนึกถึงอะไร ? สถานการณ์ผลกระทบจากการ บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พูดถึง ปัญหาจากแอลกอฮอล์ ท่านนึกถึงอะไร ?

กลไกในการก่อผลกระทบของการบริโภค เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ รูปแบบการดื่ม ปริมาณการดื่ม โรคเรื้อรัง อุบัติเหตุ และ โรคเฉียบพลัน ปัญหาสังคมเฉียบพลัน ปัญหาสังคมเรื้อรัง ความเมา ความเป็นพิษ ฤทธิ์เสพติด ที่มา : ดัดแปลงจาก Babor, T.F., et al., Alcohol: No ordinary Commodity. 2003,

ผลกระทบในระดับบุคคล แอลกอฮอล์คือ สารก่อความมึนเมา สารการก่อให้เกิดการแท้ง และความพิการแต่กำเนิด สารพิษต่อสมองและระบบประสาท สารกดภูมิคุ้มกัน สารเสพติด สารก่อมะเร็ง

ผลกระทบด้านสุขภาพ ในประเทศไทยนั้นการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพลำดับที่สอง โดยก่อภาระโรคคิดเป็นร้อยละ 8.1 ของภาระโรคทั้งหมด การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เกี่ยวข้องกับโรคและการบาดเจ็บกว่า 60 ประเภท เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตของประชากรโลกถึง 2.3 ล้านรายในปี พ.ศ. 2545 หรือคิดเป็น ร้อยละ 3.7 ของจากการเสียชีวิตทั้งหมด และ การเสียชีวิต 26,000 คนในประเทศไทย

ผลต่อพัฒนาการของสมอง การดื่มเพียงเล็กน้อย ก็มีผลต่อความสามารถในการจดจำของเยาวชน (NIAAA) ผลทำให้สมองหดตัว โดยเฉพาะส่วน ฮิปโปแคมปัส ยับยั้งการสร้างเซลล์สมองใหม่ (neurogenesis) ผลกระทบต่อสมองใช้เวลานานในการฟื้นตัว และ ส่วนหนึ่งจะเป็นผลเสียถาวร (NIAAA) เมื่อเทียบกับคนไม่ดื่มแอลกอฮอล์ การดื่มในวัยรุ่นจะทำให้ความจำลดลงร้อยละ 10 ส่งผลให้ความสามารถในการเรียนรู้ลดลง สมองทึบ ไม่ฉลาด เรียนไม่ทันเพื่อน (Jernign, D) หากเริ่มดื่มตั้งแต่ก่อนอายุครบ 15 ปีมีโอกาสติดสุรามากขึ้น 4 เท่า มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุเพิ่มขึ้น 7 เท่า และเกิดปัญหาความรุนแรงเพิ่มขึ้น 11 เท่า(Grant B F& Dawson D) ผลจากการดื่มในขณะตั้งครรภ์ ความผิดปกติทางร่างกาย ทางระบบประสาท ทางสติปัญญาของเด็ก (Fetal alcohol syndrome, Fetal Alcohol Spectrum Disorder)

ผลกระทบทางสุขภาพของการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จำนวนการเสียชีวิต จำนวนปีที่เสียชีวิต จำนวนปีแห่งการสูญเสีย (ภาระโรค) การเจริญพันธ์และภาวะแรกเกิด 0.13 0.21 0.14 มะเร็ง 18.94 14.52 8.99 เบาหวาน 0.04 0.03 โรคทางจิตเวช 5.52 6.20 34.33 โรคของหัวใจและระบบไหลเวียน 22.42 14.44 9.8 โรคของตับ 15.71 13.76 10.22 การบาดเจ็บอย่างไม่จงใจ 25.35 34.58 25.47 การบาดเจ็บอย่างจงใจ 11.04 16.14 11.02  รวม 100

แอลกอฮอล์กับอนาคตของประเทศ จังหวัดที่มีนักดื่มมากกว่า --- มีอัตราความพิการแต่กำเนิดมากกว่า 23

แอลกอฮอล์กับอนาคตของประเทศ (2) ความเสี่ยงต่อพฤติกรรมไม่พึงประสงค์เมื่อเทียบกับนักเรียนที่ไม่ดื่ม การสูบบุหรี่ 6.68 เท่า ใช้ยาแก้ไอ/ยากล่อมประสาท/ยานอนหลับ 2.45 เท่า ใช้สารเสพติด 4.83 เท่า พกพาอาวุธ 2.96 เท่า ชกต่อยตบตี ต่อสู้ทะเลาะวิวาท 3.38 เท่า ถูกแฟนตบตีทำร้ายโดยจงใจ 3.08 เท่า วางแผนฆ่าตัวตาย (ฆ่าตัวตายอย่างจริงจัง) 2.78 (2.77) เท่า ถูกบังคับให้มีเพศสัมพันธ์ 2.05 เท่า เคยมีเพศสัมพันธ์ 3.75 เท่า ตั้งครรภ์ หรือทำให้คนอื่นตั้งครรภ์ 2.92 เท่า ที่มา การเฝ้าระวังพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทย 2550

ผลกระทบทางสังคม ปัญหาเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ อย่างเช่น การสูญเสียผลิตภาพ ทั้งจากการเจ็บป่วย และการทำงานได้ไม่เต็มกำลัง, ภาวะการว่างงาน, และความปลอดภัยในการทำงาน ปัญหาครอบครัว ทั้งด้านความสัมพันธ์ และ ความสามารถในการเลี้ยงดูบุตรและคู่สมรส ปัญหาความยากจน ทั้งในระดับปัจเจกและมหภาค ปัญหาความรุนแรง รวมถึงอาชญากรรม

แอลกอฮอล์กับการพัฒนาสังคม (1) จังหวัดที่มีนักดื่มมากกว่า --- รายได้ครัวเรือนน้อยกว่า และ มีรายได้เพิ่มขึ้นน้อยกว่า 26

แอลกอฮอล์กับการพัฒนาสังคม (2) จังหวัดที่มีนักดื่มมากกว่า --- มีครัวเรือนที่เป็นหนี้ มากกว่า 27

แอลกอฮอล์กับความยากจน ร้อยละ 66.7 ของผู้บริโภคมีรายได้น้อยกว่า 5,000 บาทต่อเดือน (2547) ร้อยละ 48.9 ของผู้บริโภคหญิงมีรายได้น้อยกว่า 2,500 บาทต่อเดือน (2547) ครัวเรือนไทยที่ยากจนที่สุด20 % (ควินไทล์ที่1) มีค่าใช้จ่ายแอลกอฮอล์ร้อยละ 6.6 ของรายจ่ายทั้งหมด (2549) ครัวเรือนที่มีผู้บริโภค 1 คน มีค่าใช้จ่ายอาหารลดลง 5% (2549) ค่าใช้จ่ายครัวเรือน

เทียบสัดส่วนของรายได้และความสูญเสีย เม็ดเงินภาษีที่รัฐได้รับ = 7.34 หมื่นล้านบาท มูลค่าของผลกระทบจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ = 15.07 หมื่นล้านบาท = 1.97% ของ GDP 7.34 – 15.07 = -7.73 หมื่นล้านบาท

ลักษณะของปัญหาแอลกอฮอล์ ปัญหาส่วนใหญ่ มีลักษณะเพิ่มขึ้นตามปริมาณการบริโภค ทั้งในระดับบุคคล และ สังคม ปัญหาจากแอลกอฮอล์ส่วนใหญ่มีผลต่อบุคคลอื่นนอกจากผู้ดื่ม ส่วนใหญ่ของมูลค่าความเสียหาย แบกรับโดยบุคคลอื่น ไม่ใช่ผู้ดื่ม

ดังนั้น การแก้ปัญหา แอลกอฮอล์ จึงเป็น... การแก้ปัญหาสุขภาพ ลดการตาย การบาดเจ็บ การป่วย ที่ไม่จำเป็น การแก้ปัญหาสังคม การเพิ่มคุณภาพชีวิต คุณภาพสังคม คุณภาพของอนาคตของชาติ การแก้ปัญหาเศรษฐกิจ การลดความเหลื่อมล้ำของสังคม การแก้ปัญหาให้เราทุกคน

ยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชาติ

“นโยบายแอลกอฮอล์” (alcohol policy) ในนิยามความหมายที่กว้างหมายถึง ความพยายามและมาตรการใดๆ จากองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน ที่เป็นไปเพื่อการลดและการป้องกันปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 3 กลไก ที่ต้องทำงานผสมผสานกัน ควบคุมการบริโภคของสังคม ลดความเสี่ยงของการบริโภค แก้ปัญหากลุ่มเสี่ยง กลุ่มที่มีปัญหา

7 กลุ่ม มาตรการของนโยบายแอลกอฮอล์ 1. ภาษีและราคา   ภาษีสุรา 2. ควบคุมการเข้าถึงเครื่องดื่ม การกำหนดบริเวณ/จำนวนจุดขายสุรา การกำหนดเวลาขาย กำหนดอายุขั้นต่ำในการซื้อ การห้ามขายแก่ผู้อยู่ในอาการมึนเมา 3. ดัดแปลงสถานการณ์และบริบทของการบริโภค การจัดกิจกรรมทางเลือกทดแทนการดื่ม 4.การจัดการกับการขับขี่ขณะมึนเมา การบังคับใช้กฎหมายระดับแอลกอฮอล์ในเลือด

7 กลุ่ม มาตรการของนโยบายแอลกอฮอล์ (ต่อ) 5. การควบคุมการโฆษณา   การควบคุมช่องทางและเนื้อหาการโฆษณา การแนบข้อความคำเตือน 6. การให้สุขศึกษาและโน้มน้าว การจัดสุขศึกษาทางสื่อมวลชน คำเตือนบนฉลากเครื่องดื่ม 7. การบำบัดรักษาและคัดกรอง มาตรการคัดกรอง การบำบัดรักษา

มาตรการใดได้ผล ได้ผลดีมาก ได้ผลดี ได้ผลน้อย ไม่ได้ผล ทำให้ปัญหาแย่ลง ภาษี ร้านขายเหล้าเป็นของรัฐ ห้ามขายให้เด็ก สุ่มตรวจลมหายใจ จำกัดความหนาแน่น ห้ามโฆษณาเด็ดขาด บำบัดคนติดสุรา กิจกรรมทดแทนการดื่มเหล้า จัดหารถทดแทน การรณรงค์ การให้ความรู้ การให้อุตสาหกรรมสุราควบคุมตนเอง การสอนให้ดื่ม (อย่างรับผิดชอบ)

วัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์ฯ วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อสนับสนุนการควบคุมขนาดและความรุนแรงของปัญหาจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในสังคมไทย วัตถุประสงค์เฉพาะ ๑. สนับสนุนการดำเนินการของหน่วยงานภาครัฐ โดยเฉพาะคณะกรรมการนโยบายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ในการพัฒนามาตรการของนโยบายแอลกอฮอล์ สร้างความเข้มแข็งในการนำนโยบายไปปฏิบัติ และ ศักยภาพในการติดตามประเมินผลนโยบายแอลกอฮอล์ ๒. สนับสนุนบทบาทและการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน โดยเฉพาะในระดับพื้นที่ในการป้องกันและควบคุมปัญหาจากเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ๓. เป็นเครื่องมือในการกำหนดเป้าหมายระยะยาวของสังคมไทยในการจัดการกับปัญหาจากเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ผลพลอยได้ แผนยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชาติและกระบวนการจัดทำ เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ร่วมกันของสังคมเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันถึงปัญหาจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และเครื่องมือในการแก้ปัญหา

หลักการพื้นฐานของยุทธศาสตร์ฯ พัฒนาและปรับปรุงนโยบายแอลกอฮอล์ลักษณะผสมผสานระหว่างยุทธศาสตร์ทั้งห้า โดยเน้นที่มาตรการที่มีประสิทธิผลและความคุ้มค่า ในทุกระดับนโยบายตั้งแต่ระดับชุมชน ไปจนถึงประเทศ และพัฒนาความเข้มแข็งของการนำไปปฏิบัติอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ยุทธศาสตร์จะกำหนดความครอบคลุมและทิศทางในการพัฒนาแผนปฏิบัติการในยุทธศาสตร์และมาตรการ และระดับนโยบายต่างๆ ยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชาติยอมรับความยืดหยุ่นในการพัฒนาแผนปฏิบัติการตามระดับความพร้อมของแต่ละยุทธศาสตร์และมาตรการ และแต่ละระดับนโยบายและพื้นที่ ยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชาติและแผนปฏิบัติการที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ควรมีการกำหนดเป้าหมายและความคาดหวังเป็นขั้นตอน ทั้งในมิติระดับบุคคล มิติเชิงพื้นที่ และระดับยุทธศาสตร์

ยุทธศาสตร์ ทั้ง 5 PAARISS 4เป้าหมายเชิงกลไก เป้าหมายหลัก ควบคุมปริมาณการบริโภค ป้องกันนักดื่มหน้าใหม่และ ควบคุมความชุกของผู้บริโภค ลดความเสี่ยงของการบริโภค จำกัดและลดความรุนแรงของปัญหา ควบคุมขนาดและความรุนแรงของปัญหาจากการบริโภค ยุทธศาสตร์ 1 ควบคุมการเข้าถึงทางเศรษฐศาสตร์ และทางกายภาพ - ราคา สถานที่และเวลาขาย การเข้าถึงของเยาวชน ยุทธศาสตร์ 2 ปรับเปลี่ยนค่านิยม และ ลดแรงสนับสนุนการดื่ม - ควบคุมการตลาดโฆษณา - ให้ข้อมูล และเพิ่มโอกาสของการไม่ดื่ม ยุทธศาสตร์ 3 ลดอันตรายของการบริโภค -การดื่มที่เสี่ยงสูง - เมาแล้วขับ - การคัดกรอง รักษา ยุทธศาสตร์ 4 การจัดการปัญหาแอลกอฮอล์ในระดับพื้นที่ - นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชุมชน และ ของหน่วยงาน สถานประกอบการ ยุทธศาสตร์ 5 การพัฒนากลไกการจัดการและสนับสนุนที่เข้มแข็ง (ความมุ่งมั่น การมีส่วนร่วม โปร่งใส การรณรงค์สาธารณะ รากฐานบนความรู้ ปกป้องผลกระทบจากข้อตกลงการค้า) ยุทธศาสตร์ ทั้ง 5 - Price and Availability - Attitude - Risk - Settings - Support = PAARISS 4เป้าหมายเชิงกลไก เป้าหมายหลัก

5. ยุทธศาสตร์ในการจัดการปัญหาจากเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มาตรการหลักและรองที่มีประสิทธิผลในการบรรลุเป้าหมายทั้งสี่ประการ เป้าหมายเชิงกลไก มาตรการหลัก มาตรการรอง มาตรการสนับสนุน ควบคุมปริมาณการ บริโภคของสังคม - ภาษีและราคา - ควบคุมการเข้าถึง -ควบคุมการโฆษณา -มาตรการระดับชุมชน -การปราบปรามเครื่องดื่ม นอกระบบภาษี -การรณรงค์สาธารณะ ป้องกันนักดื่มหน้า ใหม่และ ควบคุม ความชุกของผู้บริโภค - ควบคุมการโฆษณา -การให้ความรู้ -การดัดแปลงบริบทและ เงื่อนไขการดื่ม -การรู้เท่าทันกลยุทธการ ตลาดของอุตสาหกรรมสุรา ลดความเสี่ยงของการ บริโภค - การดัดแปลงบริบทและ -ควบคุมพฤติกรรมขับขี่ ขณะมึนเมา -ความร่วมมือของ ผู้ประกอบการ -การปรับทัศนคติของสังคม ต่อความมึนเมาและ ผลกระทบ จำกัดและลดความ รุนแรงของปัญหา -การคัดกรองและบำบัดรักษา -ภาษีและราคา -ควบคุมการเข้าถึง -ระบบบริการสุขภาพ

ไม่มี เรื่องการแก้ปัญหาที่ต้นเหตุหรือปลายเหตุ มีแต่ มาตรการที่ได้ผล และไม่ได้ผล มีแต่ มาตรการที่คุ้มค่า และไม่คุ้มค่า

ขอบคุณครับ thaksaphon @ ihpp.thaigov.net ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา cas.or.th

จริงหรือไม่ 1.ดื่มเหล้าแล้วไม่เป็นโรคหัวใจ 2.ดื่มไวน์ปลอดภัยกว่าดื่มเหล้า 3.ดื่มเหล้าแก้วสองแก้ว ไม่เห็นเป็นไร 4.การกินน้ำหวาน ผลไม้ ช่วยแก้อาการเมาได้ 5.ดื่มน้ำ กาแฟ เครื่องดื่มคาเฟอีน แก้เมาค้างได้

จริงหรือไม่ 6.ออกกำลังกาย ให้เหงื่อออกมากๆ ทำให้สร่างเมา 7.ดื่มเหล้าผสมน้ำอัดลมหรือโซดาจะเมาน้อยกว่าดื่มเพียวเพียว 8.กินของขบเคี้ยวทำให้เมาน้อยลง 9.ดื่มเหล้าแก้หนาวได้ 10.ดื่มเหล้าเสริมสมรรถภาพทางเพศได้

จริงหรือไม่ 11.ดื่มอย่างมีสติ ดื่มอย่างรับผิดชอบ ก็ปลอดภัยจากปัญหา 12.ดื่มแล้วไม่ขับ เราก็ไม่ก่อปัญหาแล้ว 13.ดื่มไม่ถึงระดับแอลกอฮอล์ในเลือด 50 มิลลิกรัม ขับรถได้ปลอดภัย 14.ตัวของเรา เงินของเรา ดื่มเหล้าเป็นเรื่องของเรา คนอื่นไม่มีสิทธิมาเกี่ยว 15.ดื่มเหล้า ช่วยพัฒนาเศรษฐกิจของชาติ

ปริมาณการดื่มที่มีความเสี่ยงน้อยที่สุด (การศึกษาในประเทศอังกฤษ) 11.85 ml of 6% beer หนึ่งขวดใหญ่ กินได้ 55.7 วัน 16.77 ml of 40% whiskey หนึ่งกลม กินได้ 44.7 วัน 46