อโศกอินเดีย ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyalthia longifolia Benth Pandurata

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
Advertisements

นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
คนไทยรู้จักนำสมุนไพรมาใช้ประโยชน์มาเนิ่นนานหลายชั่วอายุคน สืบทอดกันมาเป็นภูมิปัญญาโบราณที่ทรงคุณค่า ต่อมามีการศึกษาวิจัยสมุนไพรในทางลึก ส่งผลให้เกิดการนำมาใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง.
กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
จบการทำงาน <<< <<< สมุนไพรไทย Click Please
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
โครงงาน เรื่อง น้ำหมักมะเฟือง สูตร 1 : 3 : 5.
น.ส กานต์ดา ทำไร่ เลขที่43 ม.6/4 น.ส จิติมา คุ้มแก้ว เลขที่46 ม.6/4
พืชสวนครัว จัดทำโดย เด็กหญิงเจนจิรา เหล่าบัวบาน เลขที่ 23
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
เนื้อหาย่อยที่ 1 พืชมีดอก พืชไม่มีดอก
ใบ Leaf or Leaves.
การจำแนกพืช.
อโศกอินเดีย ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyalthia longifolia Benth Pandurata
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
ไทร ชื่อสามัญ Banyan Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus annlata วงศ์ MORACEAE
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
ขี้เหล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ :Cassia siamea Lam. ชื่อวงศ์ (Leguminosae)
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
หูกวาง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia catappa Linn. วงศ์ : COMBRETACEAE
โกสน ชื่อวิทยาศาสตร์ : Codiaeum variegatum Blume
เฟื่องฟ้า ชื่อวิทยาศาสตร์ Bougainville Spp. ชื่อวงศ์ NYCAGINACEAE
ดอกไอริสจากใยบัว.
นำเสนอโดย เด็กชายทักษ์ดนัย แสนวงษ์ ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงอภัสรา ปาสานัย ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงปภัสรา ศรีวาลี ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงดารัตน์ เหิมสามจอด.
นำเสนอโดย สมุนไพรไทย เด็กหญิงสุทธิดา แก้วกลมรัตน์ ป.5 กลุ่มที่ 4
กระชาย กระชายเป็นพืชผักในวงศ์เดียวกับขิง มีเหง้าหรือโคนลาต้นจมอยู่ใต้ดิน มีรากเรียว ยาวอวบน้ำ และออกเป็นกระจุก ส่วนเหง้าและรากที่มัก เรียกกันว่า หัว จะมีกลิ่นจัดเฉพาะตัวเนื่องจากมีน้ำ.
จังหวัดสุรินทร์.
ไม้ผลเมืองร้อนขนาดกลาง
หมากเขียว MacAthur Palm
กรรณิการ์ ผู้จัดทำ นางสาว ยุพารัตน์ แสงยาอรุณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ทับทิม Pomegranate ผู้จัดทำ นางสาวอรอนงค์ บงกชศรีจินดา
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
Next.
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
อาณาจักร : PlantaePlantae หมวด : MagnoliophytaMagnoliophyta ชั้น : MagnoliopsidaMagnoliopsida อันดับ : MagnolialesMagnoliales วงศ์ : AnnonaceaeAnnonaceae.
ฟีโลทอง philodendron sp.
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
กล้วย.
ดอกไม้ รางวัลที่ 1.
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
จัดทำโดย สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
ด้วงกว่าง.
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
กล้วยน้ำว้า จัดทำโดย นางสาวอิสราภรณ์ อุดรสาร รหัสนิสิต
สมุนไพรล้างพิษ รางจืด
โรงเรียนจักรคำคณาทร ลำพูน
รายงานเรื่อง. น้ำสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
๑๑. ทำร่างป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์
ประเภทของมดน่ารู้.
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน คุณครู อรอุมา พงค์ธัญญดิลก
Welcome to .. Predator’s Section
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
ดอกไม้ฤดูหนาว.
นางสาว อภิญญา ปินตาแก้ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
สำนักงานเกษตรอำเภอละอุ่น
สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
สมาชิกกลุ่ม 6 ชมเชยที่ 6 1.ด.ญ.ชลธิชา สอดศรี เลขที่ 29
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ กิ่งก้านคดงอ เปลือกต้นบาง ขรุขระเล็กน้อย สีเทาอมเขียว มียางสีขาวข้น.
ยอดกาหยู ชื่อถิ่น กาหยู ชื่อสามัญ Cashew
เรื่อง พืชสวนครัวสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
ต้นไม้ ยืนต้น.
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
ด.ช. อเนชา จันทคง เลขที่ 20 ชั้น 2/6.
ด. ญ. กานต์สิริทองจีน เลขที่ 16 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/10 เสนอ อ. อรอุมาพงศ์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร ไม้ดอกชนิดพุ่ม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อโศกอินเดีย ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyalthia longifolia Benth Pandurata ชื่อวงศ์ ANNONACEAE ชื่อสามัญ : Asoke tree, Cemetary tree, Mast tree ชื่ออื่น - ลักษณะทั่วไป เป็นไม้ไม่ผลัดใบ ทรงพุ่มเป็นรูปปิรามิดแคบๆ สูงเต็มที่ได้ถึง 25 m.กิ่งโน้มลู่ลงทั้งต้น ทำให้แลดูต้นสูงชะลูดมาก เปลือกต้นเกลี้ยงสีเทาเข้มหรือเทาปนน้ำตาล ประโยชน์ ปลูกในที่แคบช่วยบังลม บังสายตาหรือปลูกเป็นแนวขอบเขตพื้นที่

กระดังงา ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cananga Odroata ชื่อวงศ์ : ANNONACEAE ชื่อสามัญ : Cananga ชื่ออื่น : กระดังงาไทย, กระดังงาใหญ่, กระดังงาใบใหญ่, สะบันงา ลักษณะทั่วไป ไม้พุ่มขนาดเล็ก ทรงพุ่มแน่นทึบ เปลือกต้นสีเทา กิ่งมีขนอ่อน ใบเดี่ยว  เรียงสลับ  ใบรูปรีหรือรูปไข่  ปลายใบแหลมโคนใบมนเว้าและเบี้ยวเล็กน้อย ขอบเรียบหรือเป็นคลื่น แผ่นใบสีเขียวบางและอ่อน เส้นใบลึกมองเห็นได้ชัดเจน ดอกสีเหลือง กลิ่นหอมแรง ออกดอกเดี่ยวหรือเป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงรูปไข่ ปลายแหลม กลีบยาวเรียวบิดเป็นเกลียวและอ่อนนิ่ม เรียงตัวหลายชั้น กลีบชั้นนอกยาวและใหญ่กว่ากลีบชั้นในตามลำดับ ผลสด รูปกลมรี ปลายแหลม มีเมล็ดหลายเมล็ด ประโยชน์ ดอกปรุงยาหอมแก้วิงเวียน บำรุงหัวใจ บำรุงธาตุ เป็นยาชูกำลัง สกัดน้ำมันทำเครื่องปรุงน้ำอบไทยได้อีกด้วย ต้นและกิ่ง มาเข้าเครื่องรักษาโรคอื่น ๆ ประโยชน์ ปลูกเป็นไม้ประดับ

ชมพู่มะเหมี่ยว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Eugenia malaccensis Linn. วงศ์ : MYRTACEAE ชื่อสามัญ: Pomerac, Malay Apple ชื่อพื้นเมือง: ชมพู่แดง ชมพู่สาแหลง ชื่ออื่น:ชมพู่สาแหรก ม่าเหมี่ยว ชมพู่แดง ชมพู่ม่าเหมี่ยว ลักษณะทั่วไป: ไม้ต้นขนาดกลาง สูงประมาณ 6-15 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอกทรงกลมหนาทึบ ลำต้นมีเปลือกสีนำตาลอ่อนผิวเรียบเป็นไม้ผล ประโยชน์: ผล และ เกสรเพศผู้รับประทานได้ รากแก้คัน แก้ไข้ ขับปัสสาวะ เปลือกราก ขับประจำเดือน ใบ แก้บิด แหล่งที่พบ ทุกภาค

หมากงาช้าง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pinanga dicksonii Blume ชื่อวงศ์ : Palmae ชื่อสามัญ : lory plam ชื่อพื้นเมือง : - ลักษณะทั่วไป เป็นพรรณปาล์มที่มีหน่อ และลำต้นที่เกิดจากหน่อนั้นจะไม่โผล่มาเหนือผิวดินในลักษณะเป็นกอสูงและโต ลำต้นตรงไม่แตกกิ่งก้านสาขา ตามลำต้นจะเป็นข้อปล้องมีสีเขียว เป็นไม้ใบรวม ลักษณะเป็นขนนก ใบย่อยนั้นจะเรียวยาวและมีสีเขียวอ่อน และปลายทางจะโค้งเล็กน้อย โคนทางใบจะหุ้มลำต้นไว้ มีสีขาวครีมคล้ายกับสีของงาช้าง ซึ่งสิ่งนี้แหละคือจุดเด่นของต้นหมากงาช้าง ดอกออกเป็นช่อ อยู่ตรงกาบของทางใบ ช่อดอกจะเล็ก ประโยชน์ ปลูกประดับสวน

สาวน้อยประแป้ง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dieffenbachia ชื่อวงศ์ : Araceae ชื่อสามัญ : Dumb  Cane ชื่ออื่น - ลักษณะทั่วไป ต้นมีลักษณะเป็นกาบ ใบมีรูปร่างยาวเรียวคล้ายใบพาย โคนใบมน ปลายใบเรียวแหลม บางชนิดแหลมเกือบมน พื้นใบมีสีเขียวอ่อนถึงเขียวเข้ม ด่างสีขาว ครีม หรือเหลืองหรือมีจุดแต้มบนพื้นใบต่างกันไป  ประโยชน์ ปลูกเป็นไม้ประดับ

ประดู่ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pterocarpus indicas Willd. ชื่อวงศ์ : Leguminosae ชื่ออื่น ๆ : ดู่บ้าน (เหนือ) ประดู่กิ่งอ่อน (กรุงเทพ ฯ ) ลักษณะทั่วไป ไม้ผลัดใบขนาดใหญ่ เปลือกนอกสีน้ำตาลเทา หนา แตกหยาบๆ เป็นร่องลึก เรือนยอดรูปคล้ายทรงกระบอก ใบประกอบแบบขนนก ใบย่อย รูปขอบขนานแกมรูปไข่ ผิวใบเกลี้ยง โคนใบกว้าง มนกลม และเรียวไปทางปลายใบ ออกเป็นช่อ ตามชอกใบใกล้ยอด ผล เป็นแผ่นกลมแบน มีปีกโดยรอบ มีเมล็ดเดี่ยวอยู่กลางผล เมื่อแก่จะเป็นสีน้ำตาล ประโยชน์ : ปลูกเป็นไม้ให้ร่มเงา เป็นไม้ประดับ เนื้อไม้แก่น สีแดงทำมาเป็นสีย้อม เปลือก แก้ท้องเสีย ใบและดอกอ่อน รับประทานเป็นผัก น้ำต้มจากใบใช้มาสระผม

หางนกยูง ชื่อวิทยาศาสตร์ :Caesalpinia pulcherrima Sw. ชื่อวงศ์ : Peacock Flower, Pride of Barbados, Dwaf ชื่อสามัญ : Pride of Barbados, Peacock's Crest ชื่ออื่น : จำพอ ชมพอแดง ขวางยอย ส้มฝ่อ พญาไม้ผุ หางนกยูงแคระ ลักษณะทั่วไป : ต้น เป็นไม้พุ่ม มีลำต้นขนาดเล็กเรือนยอดโปร่ง กิ่งอ่อนสีเขียว กิ่งแก่สีน้ำตาล ประโยชน์ ราก ใช้ปรุงเป็นยาขับโลหิต หากนำรากมาต้มหรือฝนรับประทานแก้บวม วัณโรค ใช้ร่มเงาให้เป็นไม้ประดับได้