การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนการเลือกใช้ ตัวสถิติทดสอบที่ถูกต้อง
Advertisements

Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร
การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์
การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา
การทดสอบไคกำลังสอง (Chi-square)
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
แบบสอบถามประกอบการศึกษา
บทที่ 8 การเตรียม ประมวลผลข้อมูล
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
(Statistical Package for the Social Sciences : SPSS)
สถิติและวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
Management Information Systems
มาตรฐานการวัด คุณภาพตัวชี้วัด และ สถิติ
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
Dr. Tipsuda Janjamlha 30 AUG. 08
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
การใช้งานโปรแกรม SPSS
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
การจัดเตรียมข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์ ด้วย
Menu Analyze > Correlate
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
สถิติในการวัดและประเมินผล
การทดสอบสมมติฐาน
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวแปร
รู้จักและใช้งานโปรแกรม SPSS for Windows เบื้องต้น
อาชีพ เชื้อชาติ เพศ เบอร์ของนักฟุตบอล ศาสนา
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
การวิเคราะห์ข้อมูล.
สถิติเบื้องต้นสำหรับงานระบาดวิทยา Statistics for Epidemiology
ทบทวน ระดับของข้อมูลจากการวัด แบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี้
วิจัย (Research) คือ อะไร
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
การวิเคราะห์สถิติ SPSS for Windows
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับอุดมศึกษา เรื่อง วิธีการกำหนดระดับความสามารถของผู้เรียน วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร. สุพัฒน์ สุกมลสันต์ เวลา น .
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
ตัวอย่าง การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลทางสถิติ
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
1 คำสั่งในการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา 1.การวิเคราะห์เชิงพรรณนาในภาพรวม
การ Recode ข้อคำถามที่เป็นเชิงลบ
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 2 ประชากร
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
การนำเข้าข้อมูล โปรแกรม Epidata.
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ เพื่อการทำวิจัยอย่างง่าย
"วิธีวิเคราะห์แบบสอบถาม หรือแบบประเมิน ด้วยโปรแกรม SPSS"
การใช้โปรแกรมเบื้องต้น (Application Overview)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติและโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS FOR WINDOWS

1. เพศ - 1. ชาย 2. หญิง 2. ระดับการศึกษา - 1. ประถมศึกษา 2. มัธยมศึกษา 3. อุดมศึกษา 3. ยศ - 1. นายร้อย 2. นายพัน 3. นายพล 4. อายุ…30……ปี 5. มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการมีสังฆราช 2 องค์อย่างไร 5. เห็นด้วยอย่างยิ่ง 4. เห็นด้วย 3. เฉยๆ 2. ไม่เห็นด้วย 1. ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง 6. ทำงานมาแล้ว…25……ปี 7. เงินเดือน…..50,000…..บาท 8. เงินเดือน 1. 5000 - 10000 บาท 2. 10001 - 15000 บาท 3. 15001 - 20000 บาท 4. 20001 - 25000 บาท 5. 25001 - 30000 บาท

Ratio Scale (อัตราส่วน ระดับการวัด Ratio Scale (อัตราส่วน Interval Scale (อันตรภาค) Ordinal Scale (เรียงลำดับ) Nominal Scale (นามบัญญัติ)

SPSS : Statistical Package for the Social Science OPERATING SYSTEM MAINFRAME PC OPERATING SYSTEM DOS (Disk operating System) WINDOWS (Menu)

แบบสอบถาม ตัวแปร 1. SEX 2. AGE 3. PRE 4. POST 1. เพศ_______ 2. อายุ_______ 3.คะแนนก่อนอบรม_______ 4.คะแนนหลังอบรม_______ 1. SEX 2. AGE 3. PRE 4. POST 1. ตัวอักษรผสมตัวเลขไม่เกิน 8 ตัวอักษร 2. สื่อความหมายถึงข้อคำถามในแบบสอบถาม

การแปลงข้อคำถามเป็นตัวแปร 1. ชื่อตัวแปร (Variable Name) 2. ชนิดของตัวแปร (Variable Type) 3. รหัสที่เป็นไปได้ (Value) 4. ค่าไม่ตอบ (Missing Value)

ตอนที่ ข้อที่ ชื่อตัวแปร ชนิดของตัวแปร ค่าที่เป็นไปได้ ค่าไม่ตอบ Name Type Value Missing ID String 01-80 - 1 1 GENDER Numeric 1=Female 2=Male 9 2 EDU Numeric 1 = Lower than Bachelor 2 = Bachelor 9 3 = Upper than

ตอนที่ ข้อที่ ชื่อตัวแปร ชนิดของตัวแปร ค่าที่เป็นไปได้ ค่าไม่ตอบ Name Type Value Missing 1 3 AGE Numeric 18-60 99 4 REASON1 Numeric 0=Not Choose - REASON2 Numeric 1=Choose - REASON3 Numeric REASON4 Numeric 5 PRE Numeric 0-50 99 6 POST Numeric 0-50 99 7 SES Numeric 0-50,000 99999

ตอนที่ ข้อที่ ชื่อตัวแปร ชนิดของตัวแปร ค่าที่เป็นไปได้ ค่าไม่ตอบ Name Type Value Missing 2 1 KNOW1 Numeric 1-4 9 2 KNOW2 Numeric 1-4 9 3 KNOW3 Numeric 1-4 9 4 KNOW4 Numeric 1-4 9 5 KNOW5 Numeric 1-4 9 3 1 ORDER1 Numeric 1-5 9 ORDER2 Numeric 1-5 9 ORDER3 Numeric 1-5 9 ORDER4 Numeric 1-5 9 ORDER5 Numeric 1-5 9

ตอนที่ ข้อที่ ชื่อตัวแปร ชนิดของตัวแปร ค่าที่เป็นไปได้ ค่าไม่ตอบ Name Type Value Missing 4 1 APPLY1 Numeric 1-5 9 2 APPLY2 Numeric 1-5 9 3 APPLY3 Numeric 1-5 9 4 APPLY4 Numeric 1-5 9 5 APPLY5 Numeric 1-5 9 5 1 ATT1 Numeric 1-5 9 2 ATT2 Numeric 1-5 9 3 ATT3 Numeric 1-5 9 4 ATT4 Numeric 1-5 9

ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้(Raw Data) สร้างแฟ้มข้อมูล(Data File) ตั้งชื่อตัวแปร กำหนดลักษณะตัวแปร พิมพ์ข้อมูลของตัวแปรแต่ละตัว ป้อนข้อมูลเข้าโปรแกรมโดยตรง สร้าง ASCII File, Excel File, Database File เก็บบันทึกแฟ้มข้อมูล (Save data file) เลือกคำสั่งประมวลผล(Analyze/Graphs) แสดงผลลัพธ์ที่หน้าต่าง Output อ่านผลลัพธ์ และเขียนรายงาน

กำหนดความ กว้างของสดมภ์ คำอธิบายชื่อตัวแปร กำหนดชนิด ของตัวแปร ระดับการวัด ของตัวแปร คำอธิบายค่า ของตัวแปร กำหนด ตำแหน่งทศนิยม กำหนดชื่อ ตัวแปร กำหนด ค่าไม่ตอบ

การคำนวณค่าสถิติพรรณนา 1. ค่าร้อยละ 2. ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน และฐานนิยม 3. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4. การแจกแจงความถี่แบบหลายทาง

จำนวนที่สนใจx100 ค่าร้อยละ = จำนวนทั้งหมด Analyze Descriptive Statistics Frequencies...

ผลรวมของทุกจำนวน ค่าเฉลี่ย = จำนวนทั้งหมด Analyze Descriptive Statistics Descriptives...

ขั้นตอนการแก้ปัญหา 1. ตรวจให้คะแนนข้อสอบแต่ละข้อ 2. รวมคะแนนของผู้เข้าสอบแต่ละคน

1.การตรวจให้คะแนน

คำตอบของข้อที่ คนที่ 1 2 3 4 5 เฉลย 1 2 1 3 2 1 1 1 2 3 2 2 1 4 1 3 2 3 1 1 2 3 2 4 3 2 1 4 2

คะแนนที่ได้ของข้อที่ คนที่ 1 2 3 4 5 1 1 0 0 1 1 2 1 0 1 1 1 3 1 0 0 1 1 4 0 1 1 0 1

คำสั่งที่ใช้ Transform Recode Into Different Variables...

2. การรวมคะแนน

คะแนนที่ได้ของข้อที่ คนที่ 1 2 3 4 5 k1 k2 k3 k4 k5 รวม Total 1 1 0 0 1 1 2 1 0 1 1 1 3 1 0 0 1 1 4 0 1 1 0 1 3 4 Transform Compute Total=k1+k2+k3+k4+k5

ขั้นตอนการแก้ปัญหา 1. คำนวณค่าเฉลี่ยของตัวแปร AGE 2. Recode ตัวแปร AGE ไปเป็นตัวแปรใหม่ (GROUPAGE) โดยให้รหัส 1 แทน กลุ่มคนที่อายุต่ำกว่าค่าเฉลี่ย 2 แทน กลุ่มคนที่อายุสูงกว่าค่าเฉลี่ย 3. กำหนด Value ของตัวแปร GROUPAGE 1=LOWAGE 2=HIAGE

ขั้นตอนการแก้ปัญหา 1. หาความถี่ว่าแต่ละหัวข้อได้รับเลือกเป็น อันดับที่ 1-5 ลำดับละเท่าไร 2. คำนวณคะแนนแบบถ่วงน้ำหนัก อันดับที่ 1 ได้ 5 คะแนน อันดับที่ 2 ได้ 4 คะแนน อันดับที่ 3 ได้ 3 คะแนน อันดับที่ 4 ได้ 2 คะแนน อันดับที่ 5 ได้ 1 คะแนน

ขั้นตอนการแก้ปัญหา(ต่อ) 3. นำคะแนนไปคูณกับความถี่ของแต่ละลำดับ ของแต่ละหัวข้อ 4. รวมคะแนน 5. เรียงลำดับคะแนน

ต่ำกว่าป.ตรี ป.ตรี สูงกว่าป.ตรี ระดับการศึกษา ต่ำกว่าป.ตรี ป.ตรี สูงกว่าป.ตรี ชาย จำนวน? เพศ หญิง

คำสั่งที่ใช้ Analyze Descriptive Statistics Crosstabs...

POST PRE

คำสั่งที่ใช้ Graphs Scatter... PRE --X Axis POST -- Y Axis

ความสัมพันธ์ -ขนาด…….ค่าที่คำนวณได้ -ทิศทาง…..เครื่องหมาย

คำสั่งที่ใช้ Analyze Correlate Bivariate…

สมการทำนายคะแนน POST จากคะแนน PRE POST = a +b(PRE)

คำสั่งที่ใช้ Analyze Regression Linear…

สมการทำนายคะแนน POST จากคะแนน PRE ZPOST = 0.592(ZPRE)

สถิติอ้างอิง กลุ่มตัวอย่าง ประชากร ค่าสถิติ ค่าพารามิเตอร์ การสุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่าง ประชากร ค่าสถิติ การรวมรวม และ วิเคราะห์ข้อมูล การประมาณค่า การทดสอบสมมุติฐาน ค่าพารามิเตอร์

ขั้นตอนการทดสอบสมมุติฐาน 1. ตั้งสมมุติฐานทางสถิติ H0: สมมุติฐานของความไม่แตกต่าง สมมุติฐานว่าง สมมุติฐานศูนย์ H1: สมมุติฐานทางเลือก สมมุติฐานการวิจัย

ขั้นตอนการทดสอบสมมุติฐาน(ต่อ) 2. เลือกสถิติทดสอบ และ คำนวณค่าสถิติทดสอบ Z-test t-Test F-test ANOVA Chi-square

ขั้นตอนการทดสอบสมมุติฐาน(ต่อ) 3. กำหนดระดับนัยสำคัญ และ บริเวณวิกฤติ บริเวณยอมรับH0 บริเวณวิกฤติ ค่าวิกฤติ เปิดตาราง

ขั้นตอนการทดสอบสมมุติฐาน(ต่อ) 4. ตัดสินใจทางสถิติ (นำค่าสถิติที่คำนวณมาเทียบกับค่าวิกฤติ ถ้าน้อยกว่า คงสมมุติฐานว่าง ถ้ามากกว่า ปฏิเสธสมมุติฐานว่าง) 5. แปลความหมาย

Indepents Sample t-Test… คะแนนเฉลี่ยหลังการอบรมระหว่างผู้ชายกับผู้หญิงต่างกันหรือไม่ Analyze Compare Means Indepents Sample t-Test…

การทดสอบความแปรปรวนของประชากร

Paired Samples t-Test… คะแนนเฉลี่ยหลังการอบรมมากกว่าคะแนนเฉลี่บก่อนการอบรมหรือไม่ Analyze Compare Means Paired Samples t-Test…

Analyze Compare Means One-Sample t-Test… คะแนนเฉลี่ยของการนำความรู้ไปใช้ในเรื่องใดมีค่าต่ำกว่า 3.5 หรือไม่ Analyze Compare Means One-Sample t-Test…

Analyze Compare Means Means…

Analyze Compare Means One-Way ANOVA… ผู้เข้าอบรมที่มีระดับการศึกษาต่างกันได้คะแนนเฉลี่ยหลังอบรมต่างกันหรือไม่ Analyze Compare Means One-Way ANOVA…

sex ID GPA 011232 022300 031256 041312 052200 061250 062248 DATA LIST FILE = ‘A:TEST3.DAT’ /ID 1-2 (A) SEX 3 GPA 4-6(2). EXECUTE.