T-Test compare with mean Independent Paired

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนการเลือกใช้ ตัวสถิติทดสอบที่ถูกต้อง
Advertisements

Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
มาตรฐานการบันทึกข้อมูลในสถานพยาบาล การให้รหัส และการส่งข้อมูล 43 แฟ้ม
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
การทดสอบสมมติฐานสัดส่วนของประชากร
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
การทดสอบสมมติฐานความแปรปรวนของหนึ่งประชากร
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร
การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์
การวิเคราะห์สถิติแบบ ไม่ใช้พารามิเตอร์
การทดสอบไคกำลังสอง (Chi-square)
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
แบบสอบถามประกอบการศึกษา
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การวิเคราะห์ความแปรปรวน
Dr. Tipsuda Janjamlha 30 AUG. 08
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับลักษณะของข้อมูล
รู้จัก LMS รู้จักและใช้ MOODLE เป็น
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
2-test.
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
นายเพียร แก้วสวัสดิ์ 2549 เสนอ ดร.อุดม คำหอม
EDAD 527 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา (Technology for Education) ผศ. บุรินทร์ รุจจนพันธุ์ Mobile PUBA 533 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร.
การทดสอบสมมติฐาน
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การศึกษาความพึงพอใจของ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
การวิจัยและพัฒนาผู้เรียนด้วย E-Learning
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ห้องสมุดเสมือนและการเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ต Virtual-Library and E-Learning ดร.ปรัชญนันท์
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
การแจกแจงปกติ.
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
การวิจัยธุรกิจและระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
ลิงค์สำหรับดาวน์โหลดโปรแกรมเละคู่มือการใช้งานโปรแกรม SPSS
นางเจริญสุข ผ่องภักดี


ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
สิ่งที่จะต้องมีในการดำเนินงาน
ตัวอย่าง การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลทางสถิติ
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
ประโยชน์และข้อจำกัด Social Media
ผู้วิจัย นางประชุมพร รุ่นประพันธ์
1 คำสั่งในการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา 1.การวิเคราะห์เชิงพรรณนาในภาพรวม
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
พระพุทธศาสนา.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

T-Test compare with mean Independent Paired http://www.thaiall.com/spss https://www.facebook.com/groups/thaiebook/ http://www.rncc.ac.th/Media/short_course/SPSS.pdf [91 slides] http://www.agro.kmutnb.ac.th/e-learning/yao/spss.pdf [30 slides] http://hsmi.psu.ac.th/upload/forum/t-test_Thai_version-Dec_11_new_version.pdf [105 slides] http://www.bus.rmutt.ac.th/~natthapart/leturce/Saminar/analysis%20data.pdf [56 slides] April 28, 2014

T-Test เหมาะกับข้อมูลแบบใด เป็นสถิติที่ใช้ทดสอบต่อไปนี้ - กรณีกลุ่มตัวอย่างหนึ่งกลุ่ม ใช้ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ระหว่าง กลุ่มตัวอย่าง กับ ประชากร - กรณีกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่ม - ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน - ทดสอบความแตกต่างของสัดส่วนระหว่างกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่สัมพันธ์กัน เช่น ผลสอบ pre-test และ post-test http://www.watpon.com/stat/statch60.htm

ถ้าทดสอบเรื่องเพศ ก็มักจะใช้ T-Test แต่แบบสอบถามบางฉบับ อาจไม่ได้มี 2 เพศ ถ้ามีมากกว่า 2 เพศ ก็เห็นใช้ One-way ANOVA ทดสอบสมมติฐานกัน แบบสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ต สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีตัวอย่างคำถามที่น่าสนใจ http://thaiall.blogspot.com/2014/04/blog-post_21.html http://www.etda.or.th/internetuserprofile2014/ https://www.facebook.com/download/607361896022156/ict_survey_2557.pdf

One-Sample T Test : Concept น้ำหนักของเด็กหนึ่งขวบ ใน 2 หมู่บ้าน หมู่บ้านใด เป็นตามมาตรฐาน 12 กิโลกรัม สมมติฐาน H0 : u=12 (ค่าเฉลี่ยน้ำหนักเด็กเท่ากับ 12) : >=0.05 H1 : u!=12 (ค่าเฉลี่ยน้ำหนักไม่เท่ากับ 12) : <0.05

One-Sample T Test : Sample Data Test value=12 for 2 variables

ค่าสถิตินี้ใช้ตอบได้ว่า หมู่บ้านใดที่มีค่าเฉลี่ย = 12 One-Sample T-Test : Output สรุปว่ามีหมู่บ้านเดียวที่ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 12 ค่าสถิตินี้ใช้ตอบได้ว่า หมู่บ้านใดที่มีค่าเฉลี่ย = 12

Independent-Sample T Test : Concept เด็กชายกับเด็กหญิง มีน้ำหนักเท่ากัน สมมติฐาน H0 : m = f (ชายกับหญิงน้ำหนักเท่ากัน) : >=0.05 H1 : m != f (ชายกับหญิงน้ำหนักไม่เท่ากัน) :<0.05 สมมติฐานดูค่า F-Test ว่าแปรปรวนหรือไม่ H0 : u1 = u2 (แปรปรวนเท่ากัน) : >=0.05 H1 : u1 != u2 (แปรปรวนไม่เท่ากับ) :<0.05

Independent-Sample T Test : Data select first village compare with sex มีข้อมูล 2 กลุ่ม ทั้ง 2 กลุ่มอิสระจากกัน

Independent-Sample T Test : Output หมู่บ้าน 1 จาก sig พบว่าปฏิเสธ H0 คือ ความแปรปรวนไม่เท่ากัน หรือต่างกัน ดู sig ของ Equal variances Assumed พบว่ายอมรับ H0 คือ เด็กชายกับเด็กหญิงน้ำหนักเท่ากัน แต่หมู่บ้านที่ 2 น้ำหนักไม่เท่ากัน

Paired-Samples T Test : Concept คะแนนสอบก่อนเรียน และหลังเรียนไม่แตกต่างกัน สมมติฐาน H0 : U1 = U2 (คะแนนก่อนไม่ต่างหลังเรียน): >=0.05 H1 : U1 != U2 (คะแนนก่อนต่างหลังเรียน) :<0.05

Paired-Samples T Test : Data ค่าสถิตินี้นิยมใช้ สำหรับการวิจัยในชั้นเรียน ว่าก่อนสอน และหลังสอน ผลการใช้เครื่องมือเป็นอย่างไร ทางวิทยาศาสตร์ก็ใช้นะครับ

Paired-Samples T Test : Output เปรียบเทียบคะแนนสอบ พบว่าปฏิเสธ H0 คือ ก่อนและหลังสอนคะแนนเฉลี่ยไม่เท่ากัน เปรียบเทียบความพึงพอใจ พบว่ายอมรับ H0 คือ ก่อนและหนังสอนความพึงพอใจเท่ากัน

ต.ย.การใช้ T-TEST ของ ศศิธรเข็มคำ p.32 สมมติฐานการวิจัย เพศที่ต่างกัน ส่งผลให้การตัดสินใจเลือกใช้บริการสถานตรวจสภาพรถเอกชน ของผู้ใช้รถยนต์ส่วนบุคคล ในอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ตามปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดแตกต่างกัน สมมติฐานทางสถิติ H0: เพศที่ต่างกันส่งผลให้การตัดสินใจเลือกใช้บริการสถานตรวจสภาพรถเอกชนของผู้ใช้รถยนต์ส่วนบุคคล ในอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ตามปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดไม่แตกต่างกัน H1:เพศที่ต่างกันส่งผลให้การตัดสินใจเลือกใช้บริการสถานตรวจสภาพรถเอกชนของผู้ใช้รถยนต์ส่วนบุคคล ในอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ตามปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดไม่แตกต่างกัน ใช้ T-TEST ทดสอบความแปรปรวน 2 กลุ่มข้อมูล ถ้า T-Test >= 0.05 หมายถึงแปรปรวนปกติ แสดงว่าไม่ต่างกัน ถ้า T-Test < 0.05 หมายถึงแปรปรวนปกติ แสดงว่าต่างกัน ถ้าพบว่า ต่างกัน ก็ต้องทดสอบค่าเฉลี่ยรายคู่ ว่าคู่ใดแตกต่างกัน

ต.ย.การใช้ T-TEST ของ ศศิธรเข็มคำ ผลคือเพศชายกับหญิง พิจารณาเลือกใช้บริการ สถานตรวจสภาพรถ ตามการจัดจำหน่าย และลักษณะกายภาพ แตกต่างกัน ส่วนสมมติฐานอีก 5 ข้อ ไม่แตกต่างกัน