การรับรู้ การเรียนรู้และการเสริมแรง (Perception Learning and Reinforcement)
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้ ปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้ของบุคคล ความหมายของการเรียนรู้ และความสำคัญ ของการเรียนรู้ การนำทฤษฎีการเรียนรู้ไปปรับใช้ การนำหลักการประเมินการเรียนรู้ไปใช้ ในการดำเนินงานจริง การตัดสินใจเลือกรูปแบบของการเสริมแรง ที่เหมาะสมกับสถานการณ์
การรับรู้ (Perception) กระบวนการที่บุคคลรวบรวม และเปลี่ยนแปลง ความประทับใจของตนเองจากประสบการณ์ที่ผ่าน มา การรับรู้เป็นการทำงานขั้นแรกสุดของร่างกาย ในการติดต่อกับสภาพแวดล้อมภายนอก โดยผ่าน ประสาทสัมผัสทาง ตา หู จมูก ลิ้นและผิวหนัง
ขั้นตอนของการรับรู้ การรับสัมผัส การสนใจ การสร้างภาพ การแปลความหมาย การแสดงออก
ปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้ของบุคคล ค่านิยม และทัศนคติ บุคลิกภาพ การจูงใจ ความคาดหวัง ความสนใจ ประสบการณ์
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ของบุคคล การเลือกรับรู้ ภาพฉาย ความคาดหวัง การเหมารวม ปรากฏการณ์ การคาดการณ์ กระบวนการเรียนรู้ การมีอคติ ทษ.ความสืบเนื่อง
การเรียนรู้ (Learning) การเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างค่อนข้างถาวร ซึ่งเกิดมาจาก ประสบการณ์และการฝึกฝนของระบบ การเรียนรู้จะ เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการหรือไม่เป็นทางการทุกช่วงเวลา และสถานที่
ธรรมชาติของการเรียนรู้ การเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เกิดขึ้นค่อนข้างถาวร การเรียนรู้เป็นการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจาก ประสบการณ์ มิใช่วุฒิภาวะ อุบัติเหตุ หรือความเคยชินของบุคคล การเรียนรู้จะเกิดขึ้นง่าย ถ้าสิ่งที่เรียนมีความสำคัญต่อผู้เรียน การเรียนรู้อาจเกิดขึ้นอย่างตั้งใจและไม่ตั้งใจ การเรียนรู้ก่อให้เกิดการสร้างแบบแผนของพฤติกรรมใหม่ ฯลฯ
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการเรียนรู้ของบุคคล การถ่ายทอดการเรียนรู้ สภาพแวดล้อม บทเรียน ผู้เรียน การเสริมแรง การถ่ายทอดการเรียนรู้
ทฤษฎีการ เรียนรู้ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบดั้งเดิม Ivan P. Pavlov Albert Bandura Edward L.Thorndike ทฤษฎีการเรียนรู้แบบลองผิดลองถูก ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม ทฤษฎีการ เรียนรู้ Max Wertheimer และคณะ Burrhus F. Skinner ทฤษฎี ความเข้าใจ ทฤษฎีการเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข Kurt Koffka และ Wolfgang Kohler
ประเภทของการเรียนรู้ ทักษะ การเรียนรู้ ภาษา การเรียนรู้ มโนทัศน์ ประเภทของการเรียนรู้ การเรียนรู้ ทัศนคติ - ค่านิยม
หลักการประเมินการเรียนรู้ เพื่อปรับปรุงการเรียนมากกว่าการตัดสินใจ คำนึงถึงประสบการณ์และลักษณะผู้เรียน อย่างเป็นระบบที่ผสมผสานกับการสอน ต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการสอน ครบทุกด้านทั้งพุทธิพิสัย จิตพิสัย ทักษะพิสัย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมกำหนดแนวทางประเมิน บอกเกณฑ์ให้ผู้เรียนทราบตั้งแต่เริ่มการสอน
การจำ - การลืม สิ่งเร้า ความจำปฐมภูมิ ความจำทุติยภูมิ การลืม
การเสริมแรง เป็นเครื่องมือสำคัญในการกำหนดรูปแบบของพฤติกรรมให้เป็นไปตามที่ต้องการโดยการเสริมแรง มี 2 ประเภท คือ ตัวเสริมแรงปฐมภูมิ เป็นตัวเสริมแรงที่ตอบสนองทางกายภาพ เช่น อาหาร น้ำ อากาศ ฯลฯ ตัวเสริมแรงทุติยภูมิ เกิดกับตัวเสริมแรงปฐมภูมิ เช่น เงิน ตำแหน่ง หรือคำชม ประกอบกับ ปริมาณ ความถี่ และช่วงเวลา
รูปแบบของการเสริมแรง การเสริมแรงเชิงบวก การเสริมแรงเชิงลบ รูปแบบของการเสริมแรง การลงโทษ การหยุดยั้ง
สรุป การรับรู้ หมายถึง กระบวนการที่บุคคลรวบรวม การรับรู้ หมายถึง กระบวนการที่บุคคลรวบรวม จัดระบบและทำความเข้าใจกับสิ่งที่ได้สัมผัส บุคคล จะสัมผัสกับสิ่งเร้าด้วยประสาทสัมผัส ทำให้เกิด ความรู้สึก การประมวลผล และการแปลความหมาย ตามปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้ของแต่ละคน
สรุป (ต่อ) การเรียนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การเรียนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อย่างค่อนข้างถาวร ซึ่งเกิดมาจากประสบการณ์และ การฝึกฝนของระบบ ประเภทของการเรียนรู้ ได้แก่ การเรียนรู้ทักษะ การเรียนรู้ทัศนคติ-ค่านิยม การ เรียนรู้มโนทัศ และการเรียนรู้ภาษา
สรุป (ต่อ) การประเมินการเรียนรู้ เป็นการวัดและตรวจสอบ การประเมินการเรียนรู้ เป็นการวัดและตรวจสอบ ว่าวิธีการที่ใช้ประสบความสำเร็จเพียงใด เกิดการ เรียนรู้และมีพัฒนาการจากเดิมอย่างไร วิธีประเมิน การเรียนรู้ ได้แก่ การสังเกต การสัมภาษณ์ การให้ ปฏิบัติ กรณีศึกษา การสร้างจินตนาการ แบบสอบถาม และการทดสอบ
สรุป (ต่อ) การจำ - การลืม เป็นปัจจัยที่บุคคลจะมีความ การจำ - การลืม เป็นปัจจัยที่บุคคลจะมีความ เข้าใจและสามารถแสดงพฤติกรรมที่ได้เรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง เป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุง พฤติกรรมการฝึกอบรมและการพัฒนาบุคลากร ขององค์การ
สรุป (ต่อ) การเสริมแรง หมายถึง การทำให้ความถี่ของ การเสริมแรง หมายถึง การทำให้ความถี่ของ พฤติกรรมเพิ่มขึ้น เนื่องจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น จะสนับสนุนให้เกิดพฤติกรรมบ่อยครั้ง มี 2 ประเภท ได้แก่ ตัวเสริมแรงปฐมภูมิ และ ตัวเสริมแรงทุติยภูมิ
มีคำถามส่วนไหนหรือไม่